Page 48 -
P. 48

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                                                      ทักษะการแปลภาษาจีนเป็นภาษาไทย

              ประเทศไทย เมื่อนึกถึงผู้ไปเรียนต่างประเทศจึงใช้นักเรียน

              แลกเปลี่ยนมาแปลโดยไม่ได้คิดถึงความหมายให้รัดกุม




              พจนานุกรมคือตัวช่วย อย่าปล่อยให้เป็นตัวฉุด

                     ในคัมภีร์เมิ่งจื่อ(《孟子》)หนึ่งในคัมภีร์ส าคัญของ

              ส านักขงจื๊อมีตอนหนึ่งกล่าวว่า“尽信书,不如无书。”แปลได้
              ว่า “เชื่อหนังสือทั้งหมด ไม่สู้ไม่มีหนังสือ” เมิ่งจื่อกล่าวเช่นนี้เพราะ

              อ่านคัมภีร์ซั่งซู (《尚书》)ตอนที่เกี่ยวกับพระเจ้าโจวอู่หวังไป
              ปราบกษัตริย์โจ้วแห่งราชวงศ์ซังแล้วเกิดความสงสัยในข้อเท็จจริงที่

              บั น ทึ ก ไ ว้   ห ย่ า   ( 十三经注疏整理委员会 b,1999:  381)
              ข้อความนี้หมายความว่าการอ่านหนังสือใดๆ ก็ตามต้องรู้จักวิเคราะห์

              ให้ถี่ถ้วน ไม่อาจหลับหูหลับตาเชื่อทุกสิ่ง หลักการนี้น ามาใช้ได้กับ
              เรื่องการค้นคว้าค าศัพท์จากพจนานุกรมเช่นเดียวกัน


                     การท าพจนานุกรมเป็นงานใหญ่ ในการท าพจนานุกรมภาษา
              ใดๆ มักเป็นงานระดับประเทศที่ต้องใช้คณะผู้ท างานจ านวนมาก มี

              การตรวจโดยละเอียดถี่ถ้วนเพื่อลดโอกาสผิดพลาดที่จะเกิดขึ้น
              พจนานุกรมจีนไทยที่ใช้กันทั่วไปตลอดหลายสิบปีมานี้เป็นผลงานของ

              ผู้เชี่ยวชาญภาษาจีนท่านหนึ่ง (ขอสงวนนามผู้เรียบเรียงและชื่อ

              พจนานุกรม) ซึ่งเรียกได้ว่าได้สร้างคุณูปการอย่างสูงไว้ส าหรับวงการ
              หากไม่มีพจนานุกรมเล่มนี้ ผู้เรียนภาษาจีนในระดับต้นและ

              ระดับกลางจะขาดแหล่งค้นคว้าส าคัญ ท าให้วงการภาษาจีนบ้านเรา



              บทที่ 3 การแปลค า เรื่องพื้นฐานที่ต้องใส่ใจ                                                      41
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53