Page 23 -
P. 23
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
กนกพร นุ่มทอง
ความรู้ด้านอื่นๆ เสริม เช่น ความรู้ที่ผู้แปลเคยได้รับรู้มาก่อน
(cognitive input) นั่นก็คือความรู้รอบ (encyclopedic knowledge)
และความรู้ในบริบท (contextual knowledge) แรกเริ่มกระบวนการ
ท าความเข้าใจต้องมีความรู้เหล่านี้เกี่ยวข้องในการเข้าใจความหมายที่
ผู้เขียนตั้งใจจะสื่อ (intended meaning)
2 . ขั้นตอนการแยกความหมายออกจากภาษา
(deverbalization) คือขั้นตอนที่สังเคราะห์เอาความหมายออกจาก
ตัวภาษา ซึ่งเป็นผลมาจากขั้นตอนการท าความเข้าใจ การกลั่นกรอง
เอาเฉพาะความหมายออกมาโดยไม่มีตัวภาษามาเกี่ยวข้องด้วย ท าให้
ผู้แปลพร้อมที่จะกล่าวความหมายนั้นซ้ าเป็นอีกภาษาหนึ่ง
3.ขั้นตอนการกล่าวความหมายซ้ าเป็นอีกภาษาหนึ่ง
(re-expression) ขั้นตอนนี้มีกระบวนการแบบเดียวกับขั้นตอนแรก
กล่าวคือ จ าเป็นต้องใช้ความรู้ด้านต่างๆ ทั้งด้านภาษาและความรอบ
รู้อื่นๆ น ามาประมวลกันเข้า เพื่อแสดงความหมายนั้นออกมาในรูป
ภาษาอีกภาษาหนึ่งอย่างเป็นธรรมชาติ ในลักษณะเดียวกับการ
สื่อสารภาษาเดียว ไม่มีภาษาที่สองเกี่ยวข้อง และในบริบทของการ
แปลความหมายตามที่ผู้เขียนเจตนาจะสื่อย่อมถือเป็นจุดมุ่งหมาย
ส าคัญที่ผู้แปลจะต้องน ามาแสดงให้เห็น (สุพรรณี ปิ่นมณี,
2562:14-15 )
แนวคิดข้างต้นกระท าต่อความหมายใน 3 ขั้นตอนคือ เข้าใจ
ความหมาย - แยกความหมายออกจากภาษา - กล่าวความหมายซ้ า
16 บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการแปล