Page 115 -
P. 115
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
กนกพร นุ่มทอง
ด้านหลัง โดยภาคแสดงด้านหลังแสดงเหตุผลของการที่ 佩服(นับ
ถือ) ในการแปลประโยคลักษณะนี สามารถพิจารณาเติม “ที่”
“ตรงที่” ลงไปหน้าค าควบต าแหน่ง และเติมค าว่า “แต่” ลงไปเพื่อให้
เห็นความแตกต่างจากที่ควรจะเป็น ซึ่งเป็นสาเหตุที่ท าให้นับถือ คือ
แปลว่า “ฉันนับถือหล่อนตรงที่อายุยังน้อย แต่ท างานเด็ดขาด
ชัดเจน” ก็จะท าให้ประโยคสละสลวยขึ น
ประโยคที่ 7 是高老师教会了我坚强。
ประโยคนี เป็นประโยคควบต าแหน่งแบบที่ 6 是(เป็น)แสดง
ความหมายยอมรับ โดยไม่มีประธานน าหน้า ประโยคนี ต้องปรับรูป
ประโยคโดยสิ นเชิง ไม่ควรแปลว่า “เป็นอาจารย์เกาที่สอนให้ฉัน
เข้มแข็ง” เพราะจะดูแปร่งมากในภาษาไทย ประโยคลักษณะนี
จ าเป็นต้องปรับให้ประธาน + ภาคแสดง ทั่วไป คือ “อาจารย์เกาเป็น
คน/ผู้ที่สอนให้ฉันเข้มแข็ง” หรือจะปรับล าดับหน้า-หลังค าว่า “เป็น”
ก็ได้ว่า “คนที่สอนให้ฉันเข้มแข็งก็คืออาจารย์เกา”
โดยสรุปแล้ว การแปลประโยคควบต าแหน่งภาษาจีนเป็น
ภาษาไทยสามารถแปลตรงได้ในระดับหนึ่ง แต่อาจต้องมีการเติมค า
ซึ่งช่วยเชื่อมความให้สละสลวยลงไปในประโยค แต่ถ้าเป็นประโยค
ควบต าแหน่งที่มี 是(เป็น) ขึ นต้น ควรปรับเป็นประธาน+ภาคแสดง
จะท าให้เข้าใจง่ายขึ นและไม่ติดส านวนจีนมากจนเกินไป
108 บทที่ 5 การแปลประโยคที่มีลักษณะพิเศษ