Page 120 -
P. 120

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                                                      ทักษะการแปลภาษาจีนเป็นภาษาไทย

                     ประโยคนี ส่วนแรกใช้รูปประโยคเป็น ค าบอกสถานที่ +

              กริยา +着(จ านวน) + นาม ส่วนที่ 2 ใช้ ค าบอกสถานที่ +有(มี)

              + นาม และส่วนที่ 3 ใช้ค าบอกสถานที่ +是(เป็น) + นาม เมื่อแปล
              เป็นภาษาไทย ต้องปรับวิธีการแสดงออกในส่วนแรก เป็น “ในห้อง

              หนังสือมีเตียงตัวหนึ่งตั งอยู่” คือเอาค าว่า “มี” มาใช้ประกอบกับ
              กริยา “วาง / ตั ง” ส่วนที่ 2 แปลตรงได้เป็น “ข้างเตียงมีตู้เสื อผ้าใบ

              หนึ่ง” ส่วนที่ 3 จะปรับหรือไม่ก็ได้ ถ้าใช้ตามภาษาจีน แปลเป็น
              “ข้างในเป็นเสื อผ้า” แต่จะปรับเป็น “ข้างในมีแต่เสื อผ้า” ก็ได้ จะท า

              ให้ชัดเจนขึ นว่ามีแต่เสื อผ้าเท่านัน ไม่มีของอย่างอื่น

                     ประโยคที่ 4 前边走过来一个人,身上穿着黑色的雨

              衣。

                     ประโยคนี ใช้รูปประโยคเป็น ค าบอกสถานที่ + กริยา +着(

              จ านวน) + นาม ต้องปรับส่วนแรกด้วยการใช้ค าว่า “มี” ประกอบกับ
              กริยา หรือมิฉะนั นก็ใช้เป็น ประธาน+ภาคแสดง ซึ่งมีบุพบทวลีบอก

              สถานที่ เป็น “ด้านหน้ามีคนคนหนึ่งเดินเข้ามา” หรือ “มีคนคนหนึ่ง
              เดินเข้ามาทางด้านหน้า” ส่วนที่ 2 ถ้าแปลตรงตัวจะเป็น “บนร่าง

              สวมเสื อกันฝนสีด า” ซึ่งควรตัดค าว่า “บนร่าง/บนตัว” ทิ ง เพราะท า

              ให้ภาษาไม่เป็นธรรมชาติในภาษาไทย และฟุ่มเฟือยไม่จ าเป็น อาจใช้
              เพียงว่า “ด้านหน้ามีคนคนหนึ่งเดินเข้ามา (เขา) สวมเสื อกันฝนสี

              ด า” ในกรณีเช่นนี  ผู้แปลบางท่านอาจตัดสินใจรวบประโยคเป็น
              ประโยคเดียวคือ “ด้านหน้ามีคนสวมเสื อกันฝนสีด าคนหนึ่งเดินเข้า

              มา” ก็ได้ แต่ภาพความคิดที่เกิดจะแตกต่างจากเดิมซึ่งเห็นบริเวณ


              บทที่ 5 การแปลประโยคที่มีลักษณะพิเศษ                                                      113
   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125