Page 123 -
P. 123
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
กนกพร นุ่มทอง
จากผู้อ่าน อย่างไรก็ดี ประเด็นนี เป็นเพียงการตั งข้อสังเกตจาก
ประสบการณ์ของผู้เขียนเท่านั น หากในอนาคตมีผู้ท าวิจัยในเรื่องนี
อาจได้ข้อสรุปที่แตกต่างหรือละเอียดขึ น
ประเด็นเรื่องควรปรับรูปประโยค ค าบอกสถานที่ + กริยา +
着(จ านวน) + นาม หรือไม่นั น ผู้เขียนเห็นว่าหากไม่ใช่งานแปล
นิยายก าลังภายใน สมควรปรับรูปประโยคเป็นอย่างยิ่งให้เหมาะกับ
การแสดงออกในภาษาไทย แต่ในกรณีงานแปลนิยายก าลังภายในกับ
นิยายแนวจีนโบราณ ผู้แปลอาจพิจารณาเลือกเองโดยปรึกษากับ
ส านักพิมพ์ว่าต้องการกลุ่มผู้อ่านเดิมที่ชินกับ “ขนบ” การแปลนิยาย
ก าลังภายใน หรือต้องการเปลี่ยนแปลงค่านิยมเดิมของผู้อ่านเดิมและ
สร้างกลุ่มผู้อ่านใหม่ซึ่งเกิดขึ นอยู่ตลอดเวลา เป็นเรื่องที่ท าได้ทั งสิ น
อย่างไรก็ดี ในการปรับรูปประโยคแสดงการด ารงอยู่ภาษาจีน
เป็นภาษาไทยจะท าให้ภาพความคิดในภาษาไทยไม่ตรงกับภาพ
ความคิดในภาษาจีนโดยสมบูรณ์นัก ดังประโยคต่อไปนี
一匹白马奔腾而来,马背上坐着一个白衣少女。
ประโยคนี ถ้าเป็นส านวนก าลังภายในจะแปลว่า “ม้าขาวตัว
หนึ่งห้อตะบึงมา บนหลังม้านั่งไว้ด้วยดรุณีชุดขาวนางหนึ่ง” ซึ่งถ้า
ปรับส านวนแปลเป็นภาษาไทย อาจแปลว่า “ม้าขาวตัวหนึ่งห้อตะบึง
มา บนหลังม้ามีดรุณีชุดขาวนางหนึ่งนั่งอยู่” “ม้าขาวตัวหนึ่งห้อตะบึง
มา ดรุณีชุดขาวนางหนึ่งนั่งอยู่บนหลังม้า” ซึ่งถ้าจินตนาการภาพ จะ
พบว่าภาษาจีนมีภาพความคิดจากไกลมาใกล้ เห็นวัตถุสีขาวพุ่งมา
116 บทที่ 5 การแปลประโยคที่มีลักษณะพิเศษ