Page 124 -
P. 124
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ทักษะการแปลภาษาจีนเป็นภาษาไทย
ก่อนจากนั นแยกแยกว่าเป็นม้า เห็นคนผู้หนึ่งนั่งอยู่บนหลังม้า เมื่อ
เข้ามาใกล้อีกจะเห็นชุดที่ใส่เป็นสีขาวแล้วจึงแยกได้ว่าผู้สวมชุดนั น
เป็นสาวน้อยนางหนึ่ง ภาพความคิดเช่นนี จะไม่ปรากฏในค า
แปลภาษาไทยที่เป็นภาษาไทยที่ดี “ม้าขาวตัวหนึ่งห้อตะบึงมา บน
หลังม้ามีดรุณีชุดขาวนางหนึ่งนั่งอยู่” จะเห็นบนหลังม้ามีสาวน้อยชุด
ขาวนั่งอยู่ในทันที ไม่เกิดภาพเหมือนซูมเข้าใกล้ ส่วน “ม้าขาวตัว
หนึ่งห้อตะบึงมา ดรุณีชุดขาวนางหนึ่งนั่งอยู่บนหลังม้า” ประโยคหลัง
จะเป็นภาพนิ่งยิ่งขึ นไปอีก อย่างไรก็ดี ต่อให้แปลรักษาส านวนจีน
ด้วยค าว่า “นั่งไว้ด้วย” ก็ยังไม่สมบูรณ์ เพราะเห็น “ดรุณี” ก่อน
“ชุดขาว” ตัวอย่างนี เป็นตัวอย่างที่แสดงให้เห็นว่าภาพความคิดใน
ภาษาต่างกันไม่สามารถแทนที่กันโดยสมบูรณ์ได้
โดยสรุปแล้ว ผู้เขียนเห็นว่าการแปลประโยคแสดงการด ารง
อยู่จากภาษาจีนเป็นภาษาไทยสามารถแปลตรงได้ในประโยคที่ใช้ค า
ว่า “มี” และ “เป็น” ส่วนประโยคทีอยู่ในรูป ค าบอกสถานที่ +
กริยา +着(จ านวน) + นาม นั น สามารถปรับได้ 2 ลักษณะคือ
1. ใช้ค าว่า “มี” เข้ามาช่วย เป็น มี + นาม + กริยา + ค า
บอกสถานที่
2. ปรับให้ค าบอกสถานที่เป็นบทขยายภาคแสดง เป็น นาม
(ท าหน้าที่ใหม่เป็นประธาน) + กริยา + บุพบทวลีบอกสถานที่
โดยภาพรวมแล้ว ผู้เขียนเห็นว่าการแปลประโยคที่มีลักษณะ
พิเศษทั ง 5 ประเภทดังที่ได้กล่าวไปข้างต้นนั น ต้องให้ความใส่ใจกับ
บทที่ 5 การแปลประโยคที่มีลักษณะพิเศษ 117