Page 108 -
P. 108
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ทักษะการแปลภาษาจีนเป็นภาษาไทย
โดยสรุปแล้ว แม้จีนและไทยจะมีประโยคกริยาเรียง
เช่นเดียวกัน แต่การแปลประโยคกริยาเรียงภาษาจีนเป็นภาษาไทยก็
ยังต้องมีข้อควรระวังอยู่พอสมควร บางครั งจ าเป็นต้องกลับประโยค
กริยาเรียงเป็นประโยคที่มีบทขยายภาคแสดง บางครั งจ าเป็นต้องเติม
ค าบางค าลงไปเพื่อช่วยให้เห็นความสัมพันธ์ของกริยาหลายตัวนั น
ชัดเจนขึ น ซึ่งอาจส่งผลให้ประโยคแปลในภาษาไทยไม่ได้เป็นประโยค
กริยาเรียงอีกต่อไป แต่อาจกลายเป็นประโยคความรวม นอกจากนี
ยังต้องระมัดระวังความหมายของกริยาที่แปล เพราะ ค าที่ดูเหมือน
จะแปลตรงๆ ได้นั น มิได้มีความหมายเท่ากันในแต่ละภาษา
ประโยคควบต าแหน่ง
ประโยคควบต าแหน่งนี ภาษาจีนเรียกว่า 兼语句 เป็น
ประโยคพิเศษที่มีลักษณะซับซ้อนพอสมควรแต่แปลเป็นภาษาไทยไม่
ยากนัก ผู้เขียนขอสรุปลักษณะและประเภทของประโยคชนิดนี
พร้อมดึงตัวอย่างจากหนังสือ《实用现代汉语语法》มาประเภท
ละ 2 ตัวอย่างและแปลตัวอย่างไว้ประกอบความเข้าใจดังนี
ประโยคควบต าแหน่ง(兼语句)เป็นประโยคที่ประกอบด้วย
วลีที่มีกริยาบวกกรรมรวมกับวลีที่มีประธานบวกภาคแสดง กรรมใน
วลีที่มีกริยาบวกกรรมท าหน้าที่เป็นประธานของวลีที่มีประธานบวก
ภาคแสดง เช่น ประโยค 你请他来。(คุณเชิญเขามา) “คุณ” เป็น
ประธาน มีกริยา “เชิญ” กรรมคือ “เขา” ซึ่ง “เขา” ท าหน้าที่เป็น
บทที่ 5 การแปลประโยคที่มีลักษณะพิเศษ 101