Page 105 -
P. 105

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี


              กนกพร นุ่มทอง

              กระท าส่วนหน้า (ขี่จักรยานไปซื อกับข้าว) กับวัตถุประสงค์ที่ปรากฏ

              อยู่ในส่วนหลัง (ท าอาหารกิน) ในขณะที่ส่วนหน้า “ขี่” เป็นวิธีการ

              “ไป” เป็นวัตถุประสงค์ของการขี่จักรยาน “ซื อ” เป็นวัตถุประสงค์
              ของการไป ส่วนหลัง “กิน” เป็นวัตถุประสงค์ของการ “ท า” อาหาร

              เท่ากับมีการบอกวัตถุประสงค์ซ้อนกันอยู่หลายชั น ค าว่า “มา” ให้
              ความหมายถึงการกลับมา (ไปซื อของแล้วกลับมาท าอาหาร) พร้อม

              กับบอกความหมาย “เพื่อ” อยู่ในตัว  ถ้าไม่มีความหมายของการ
              กลับมา ประโยคลักษณะนี อาจพิจารณาเติมค าอื่นที่แสดง

              วัตถุประสงค์เช่น “เพื่อ” เช่น “ฉันขับรถไปเชียงใหม่เพื่อเข้าร่วมการ

              ประชุมอภิปรายปัญหาสิ่งแวดล้อม”

                    ประโยคที่ 3 妈妈握着我的手说:“好好照顾自己。”

                    ประโยคนี แปลได้ว่า “แม่จับมือฉันไว้แล้วพูดว่า ‘ดูแลตัวเองดีๆ

              นะ ’” มีกริยาสองตัวคือ 握(จับ กุม) และ 手(พูด) การ “จับ กุม”
              เป็นการแสดงวิธีการที่ใช้ในการกระท ากริยา “พูด” ซึ่งอยู่ด้านหลัง

              กริยาวลีด้านหน้า 握着我的手(จับมือของฉันไว้) กับกริยาตัวหลัง
              握着我的手(พูด) ติดกันในภาษาจีน แต่ในภาษาไทยหากแปลว่า

              “แม่จับมือฉัน (ไว้/อยู่) พูดว่า” ก็จะขาดความสสะสลวย จ าเป็นต้อง

              เติมค าช่วยกริยา “แล้ว” หรือ “พลาง” เป็น “แม่จับมือฉันไว้แล้ว
              (ก็) พูดว่า” “แม่จับมือฉันไว้พลางพูดว่า”








              98                                                      บทที่ 5 การแปลประโยคที่มีลักษณะพิเศษ
   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110