Page 36 -
P. 36

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                  การศึกษาพฤติกรรมการใชเมล็ดพันธุขาวและการประมาณการความตองการเมล็ดพันธุขาวสําหรับศูนยขาวชุมชน

                         ผลการศึกษาของมาฆะสิริ เชาวกุล (2557) ถึงการผลิตเมล็ดพันธุขาวของศูนยขาวชุมชน 65 แหงใน
                  เขตภูมิภาคเหนือตอนลาง 5 จังหวัด คือ กําแพงเพชร พิจิตร พิษณุโลก สุโขทัยและนครสวรรค ที่ผานการอบรม

                  จากโครงการพัฒนาศักยภาพศูนยขาวชุมชนในการผลิตเมล็ดพันธุขาวของกรมการขาว พบวา มีศูนยขาวชุมชน
                  เพียง 3-5 แหงตอจังหวัดเทานั้น หรือไมเกินรอยละ 20 ของศูนยขาวชุมชนที่จัดตั้งขึ้น ที่สามารถยกระดับขึ้น

                  เปนวิสาหกิจชุมชนได  โดยสวนใหญศูนยขาวชุมชนดังกลาวนี้ เปนศูนยขาวชุมชนหรือกลุมเกษตรกรที่ผลิตเมล็ด

                  พันธุขาวชั้นพันธุขยายและชั้นพันธุจําหนายใหกับศูนยเมล็ดพันธุขาวของกรมการขาวเดิมอยูแลว สวนศูนยขาว
                  ชุมชนที่เหลือที่ยังไมสามารถยกระดับขึ้นเปนวิสาหกิจชุมชนได พบวา ไมเพียงแตขอจํากัดดานการสนับสนุน

                  อุปกรณที่จําเปนจากหนวยงานตางๆเทานั้น แตเปนเพราะศูนยขาวชุมชนที่จัดตั้งขึ้นยังมีศักยภาพไมเพียงพอใน
                  การผลิตเมล็ดพันธุขาวใหมีคุณภาพไดมาตรฐานของกรมการขาว ซึ่งตัวแปรหลังนี้ ไมใชแคปญหาของการผลิต

                  เมล็ดพันธุขาวของศูนยขาวชุมชนเทานั้น แตยังเปนปญหาของการผลิตเมล็ดพันธุขาวของรานคารายยอยที่
                  กระจายกันอยูทั่วประเทศ ที่เปนแหลงผลิตเมล็ดพันธุขาวแหลงใหญที่สุดของตลาด อยางไรก็ตาม ปญหารวม

                  ของศูนยขาวชุมชนที่ยกระดับขึ้นเปนวิสาหกิจชุมชนคือ ปญหาการตลาด ตั้งแต ชนิดของเมล็ดพันธุขาวที่ควร
                  ผลิต ปริมาณความตองการเมล็ดพันธุขาว และราคาที่จําหนาย และการแขงขันกับรานจําหนายเมล็ดพันธุขาวใน

                  พื้นที่
                         ประเด็นยอยที่ 5.3 การปรับปรุงระบบรับรองมาตรฐานเมล็ดพันธุขาวชั้นพันธุจําหนาย

                         ระบบรับรองมาตรฐานเมล็ดพันธุขาวชั้นพันธุจําหนายของกรมการขาวเปนระบบการรับรองที่

                  ผลิตภัณฑ (product certification) ซึ่งมาตรฐานที่ใชอยูในป 2559 คือ มาตรฐานเมล็ดพันธุขาวป 2557 ใน
                  ขณะเดียวกันกรมการขาวไดพัฒนามาตรฐานสินคาเกษตร การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับเมล็ดพันธุขาว

                  (มกษ.4406-2557) หรือที่เรียกกันวา GAP Rice Seed ซึ่งเปนระบบรับรองมาตรฐานที่กระบวนการ (process
                  certification) ซึ่งแบงออกเปน การรับรองกระบวนการที่แปลงปลูกเมล็ดพันธุขาว และการรับรองกระบวนการ

                  หลังการเก็บเกี่ยว อยางไรก็ตาม ในการรับรองมาตรฐานเมล็ดพันธุขาวที่ผลิตจริง จะรับรองที่ผลิตภัณฑกอนการ
                  รับซื้อ ซึ่งขอเสนอแนะจากการศึกษาของมาฆะสิริ เชาวกุล (2557 และ 2559) เกี่ยวกับ GAP Rice Seed คือ

                  (1) การใหระบบรับรองกระบวนการเปนสวนหนึ่งของระบบรับรองมาตรฐานเมล็ดพันธุขาว นั่นคือ รานคาจะรับ
                  ซื้อเมล็ดพันธุขาวจากเกษตรกรตอเมื่อแปลงปลูกผานระบบรับรองมาตรฐานแปลง (2) การเพิ่มคนตรวจแปลง

                  “มืออาชีพ” เปนสิ่งจําเปนสําหรับการตรวจแปลงใหไดมาตรฐาน และ (3) เกณฑพิจารณาการ “ผาน” ของ
                  แปลงที่ไดมาตรฐาน ควรใหน้ําหนักที่ตัวแปรที่กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ นั่นคือ ขาวแดง ขาวพันธุอื่นปน

                  เมล็ดพันธุบริสุทธิ์ (สิ่งเจือปนในแปลง) สวนความงอกและความชื้นเปนเกณฑสําหรับการรับรองหลังการเก็บ

                  เกี่ยว ซึ่งถาการรับรองแปลงไดรับการปรับปรุงใหเปนไปตามเกณฑขางตน จะทําให แบบประเมินแปลงมีความ
                  กระชับมากขึ้น (4) การทําแบบประเมินใหสามารถสรุปไดหลังจากการตรวจแปลงเสร็จวาแปลงดังกลาว “ผาน”

                  หรือ “ไมผาน” มาตรฐานแปลง จะตองพัฒนาตารางตัวชี้วัด ที่เชื่อมโยงและสอดคลองกันระหวางมาตรฐาน




                                                            - 16 -
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41