Page 35 -
P. 35
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
การศึกษาพฤติกรรมการใชเมล็ดพันธุขาวและการประมาณการความตองการเมล็ดพันธุขาวสําหรับศูนยขาวชุมชน
ผลิตขาวหลังเก็บเกี่ยวอีกรอบวาผานมาตรฐานเมล็ดพันธุขาวชั้นพันธุจําหนายหรือไม ถาผานก็จะออกใบรับรอง
เมล็ดพันธุขาวลอตนั้นให (กรมการขาว , 2555)
ปญหาอุปสรรคของการดําเนินโครงการมาจากขอจํากัดของจํานวนบุคลากร ทําใหจะตองใชเวลาในการ
ตรวจประเมินแปลงมากกวาที่ไดวางแผนเอาไว เนื่องจากชวงเวลาของการทําแปลงเมล็ดพันธุขาวของรานคาไม
ตรงกัน และศูนยเมล็ดพันธุขาวยังมีภาระกิจของการผลิตเมล็ดพันธุขาวชั้นพันธุขยายและชั้นพันธุจําหนายของ
ตนเองอยู ปญหาอุปสรรคที่สําคัญอื่นๆ ไดแก (1) เกษตรกรลูกแปลงของรานคาไมยอมเปลี่ยนจากการทํานา
หวานมาเปนนาปกดํา เพราะไมตองการเสียตนทุนเพิ่ม และมีความเชื่อวาพื้นที่นาของตนสะอาดปราศจากพันธุ
ปน เนื่องจากใชพันธุขาวพันธุเดิม (2) สวนหนึ่งของการตรวจรับรองอาศัยขอมูลจากการจดบันทึกการตรวจ
แปลง แตเกษตรกรลูกแปลงของรานคาเปนคนทําแปลง (3) กระบวนการตรวจรับรองมาตรฐานเมล็ดพันธุจาก
ตัวอยางเมล็ดพันธุที่รานคาสงไปใหใชเวลานาน เพราะตองทดสอบอัตรางอก รานคามักจะขายเมล็ดพันธุไปกอน
(4) การตรวจประเมินแปลงของเจาหนาที่ของศูนยเมล็ดพันธุขาว ยังไมสามารถบอกเจาของแปลงไดหลังการ
ตรวจแปลงเสร็จวาแปลงผานมาตรฐานหรือยัง
ในปงบประมาณ 2558 กรมการขาวไดใหศูนยเมล็ดพันธุขาวแตละจังหวัดขยายโครงการนี้ใหครอบคลุม
พื้นที่รับผิดชอบของตน ในกรณีของศูนยเมล็ดพันธุขาวราชบุรี พื้นที่รับผิดชอบคือ จังหวัดราชบุรี สุพรรรบุรี
เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ นครปฐม สมุทรสงคราม สมุทรสาคร และกาญจนบุรี และกรมการขาวจะจาง
บุคคลภายนอก (outsource party) ใหเปนผูตรวจแปลงแทนเจาหนาที่ของศูนยเมล็ดพันธุขาว
ประเด็นยอยที่ 5.2 การพัฒนาศักยภาพศูนยขาวชุมชนในการผลิตเมล็ดพันธุขาว
กรมการขาวไดดําเนินโครงการ “การพัฒนาศักยภาพศูนยขาวชุมชนในการผลิตเมล็ดพันธุขาว เพื่อเปน
แหลงผลิตเมล็ดพันธุขาวใหกับชุมชน” โดยรวมมือกับกรมสงเสริมการเกษตรที่รับผิดชอบตอการพัฒนาศูนยขาว
ชุมชน โดยการกอตั้งศูนยขาวชุมชนเริ่มเกิดขึ้นในป 2551 แนวทางการพัฒนา คือ การถายทอดเทคโนโลยีใน
การทําแปลงปลูกเมล็ดพันธุขาวใหกับกลุมเกษตรกร เปาหมายคือ การเพิ่ม “เกษตรกรไขแดง” ที่จะเปนแกนนํา
ที่นําเทคโนโลยี่ที่ไดรับการถายทอดไปถายทอดตอ เกิด “เกษตรกรไขขาว” คือ เกษตรกรที่สามารถทําแปลง
เมล็ดพันธุขาวได และในโครงการนี้ ในกิจกรรมการถายทอดเทคโนโลยีการทําแปลงปลูกเมล็ดพันธุใหกับ
เกษตรกรนี้ ไดรวมวิธีการตรวจแปลงใหเปนสวนหนึ่งของการถายทอดเทคโนโลยีการทําแปลงเมล็ดพันธุดวย
(กรมการขาว , 2556) อยางไรก็ตาม กิจกรรมนี้ใหน้ําหนักกับการเพิ่ม “ปริมาณ” เมล็ดพันธุขาวใหเพียงพอ
มากกวาการการใหน้ําหนักกับ การตรวจประเมินคุณภาพของเมล็ดพันธุขาวที่ศูนยขาวชุมชนผลิต
การพัฒนาศักยภาพของศูนยขาวชุมชนในการผลิตเมล็ดพันธุขาว พบวายังประสบปญหาการยกระดับ
ศูนยขาวชุมชนขึ้นเปนวิสาหกิจชุมชน เนื่องจากศูนยขาวชุมชนสวนใหญยังขาดอุปกรณสําคัญสําหรับการผลิต
เมล็ดพันธุขาวเชิงพาณิชย
- 15 -