Page 34 -
P. 34

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                  การศึกษาพฤติกรรมการใชเมล็ดพันธุขาวและการประมาณการความตองการเมล็ดพันธุขาวสําหรับศูนยขาวชุมชน

                  ถึงแมจะใชบุคคลที่ 3 เปนผูตรวจแปลงแทนเจาหนาที่ของศูนยเมล็ดพันธุขาว แตการรับรองแปลงวาผาน
                  มาตรฐานหรือไมก็ยังไมสามารถทําได


                         ประเด็นที่ 4 : คุณภาพของเมล็ดพันธุขาวที่จําหนายในตลาด

                         ในพื้นที่ที่มีการปลูกขาวแบบตอเนื่องหลังจากการเก็บเกี่ยวแลวเสร็จ เชน จังหวัดชัยนาท สุพรรณบุรี

                  และพิจิตร เกษตรกรจําเปนตองซื้อเมล็ดพันธุจากรานคามาใชแทนการเก็บขาวเปลือกของตนเองมาใชเปนเมล็ด
                  พันธุในทุกฤดูการเพาะปลูก แตก็พบปญหาวา เมล็ดพันธุขาวที่ขายอยูในตลาดนั้น มีปญหาดานคุณภาพ ซึ่งผล

                  การศึกษาของมานิต ฤาชา (2552) และ สมศักดิ์ ทองดีแท (2553) ระบุวารอยละ 88 ของเมล็ดพันธุขาวที่
                  เกษตรกรของจังหวัดชัยนาทใช เปนเมล็ดพันธุขาวที่มีคุณภาพต่ํากวามาตรฐานของกรมการขาว ในขณะที่วิไล

                  ปาละวิสุทธิ์ (2552)  ก็พบเชนกันวากวารอยละ 68 ของเมล็ดพันธุขาวที่เกษตรกรของจังหวัดพิจิตรใช เปนเมล็ด
                  พันธุขาวที่มีคุณภาพต่ํากวามาตรฐานของกรมการขาว  โดยเมล็ดพันธุที่จําหนายอยูในจังหวัดพิจิตรสวนใหญจะ

                  มาจากจังหวัดชัยนาทและสุพรรณบุรี  การขาดแคลนเมล็ดพันธุขาวคุณภาพดี จึงเปนสาเหตุหนึ่งที่ทําให
                  เกษตรกรตองใชเมล็ดพันธุในอัตราที่สูงตอไร และตามมาดวยตนทุนการผลิตขาวที่สูงขึ้น

                         เมล็ดพันธุขาวที่จําหนายในตลาด ที่ผลิตโดยศูนยเมล็ดพันธุขาว 23 ศูนยของกรมการขาว เปนเมล็ด
                  พันธุขาวที่ไดรับการรับรองมาตรฐานอยางเปนทางการเพียงแหงเดียว ซึ่งเปนเพียงรอยละ 10 ของเมล็ดพันธุขาว

                  ทั้งหมดเทานั้น ที่เหลือของเมล็ดพันธุขาวที่จําหนายในตลาด ยังไมมีระบบที่มีประสิทธิภาพมารับรองมาตรฐาน

                  ไดทั้งหมด ถึงแมวากรมการขาวจะใชสารวัตรเกษตรทําการสุมตรวจเมล็ดพันธุขาวที่รานคาเตรียมไวสําหรับ
                  จําหนาย แตเพราะขอจํากัดของจํานวนบุคลากรที่ไมเพียงพอตอภาระกิจนี้ ทําใหยังคงมีเมล็ดพันธุขาวที่ไมผาน

                  มาตรฐานของกรมการขาวจําหนายอยูในตลาด (มาฆะสิริ เชาวกุล , 2555)


                         ประเด็นที่ 5 : การผลิตเมล็ดพันธุขาวเชิงพาณิชยใหไดมาตรฐานกรมการขาว
                                แบงออกเปน 4 ประเด็นยอย คือ

                         ประเด็นยอยที่ 5.1 การเพิ่มการผลิตเมล็ดพันธุขาวของผูประกอบการรานคาใหไดมาตรฐาน
                         กรมการขาว

                        กลุมเปาหมายของกิจกรรมนี้คือ สมาชิกของชมรมผูผลิตและและจําหนายเมล็ดพันธุขาวของจังหวัด
                  ตางๆ โดยนํารองโครงการในป 2555 ที่จังหวัดชัยนาทและสุพรรณบุรี หนวยงานที่ดําเนินโครงการคือ ศูนยเมล็ด

                  พันธุขาวชัยนาทและศูนยเมล็ดพันธุขาวราชบุรี ตามลําดับ รูปแบบของโครงการคือ การรับรองคุณภาพเมล็ด

                  พันธุขาวที่รานคาเปนผูปลูก โดยศูนยเมล็ดพันธุขาวจะทําการอบรมการทําแปลงปลูกเมล็ดพันธุขาวใหกับรานคา
                  วิธีการตรวจแปลง และใหผูประกอบการรานคาทําการจดบันทึกการตรวจแปลง ทั้งนี้เจาหนาที่ของศูนยเมล็ด

                  พันธุขาวจะมาทําการตรวจประเมินแปลงอยางนอย 3 ครั้งในแตละอายุของตนขาว และจะทําการประเมินผล




                                                            - 14 -
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39