Page 39 -
P. 39

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                  การศึกษาพฤติกรรมการใชเมล็ดพันธุขาวและการประมาณการความตองการเมล็ดพันธุขาวสําหรับศูนยขาวชุมชน

                             คาใชจายในการทํานาใหกับเกษตรกร และเปนตัวแปรใหมในโครงสรางตนทุนการผลิต ซึ่งเปน
                             คาใชจายที่ตองจายเมื่อการปกดําเสร็จสิ้นลง แตที่สําคัญคือ กิจกรรมนี้เปนกิจกรรมที่เกษตรกรทํา

                             เองไมได ซึ่งกิจกรรมนี้ไมเพียงแตการปกดําเทานั้น แตรวมไปถึง การเพาะตนกลา การขนสงตน
                             กลามายังแปลงปลูก ซึ่งทําใหคาใชจายตอไรของกิจกรรมนี้สูง เฉลี่ยประมาณ 1,000-1,400 บาท/

                             ไร โดยเมล็ดพันธุยังเปนของตัวเกษตรกร (มาฆะสิริ เชาวกุล , 2557) สวนตัวแปรอื่นๆที่เปนตัว

                             แปรรบกวนการตัดสินใจของเกษตรกรใหหันไปทํานาแทนการปลูกเมล็ดพันธุขาว ก็เชน การมี
                             โครงการจํานําแบบเขมขนของรัฐบาล  (มาฆะสิริ เชาวกุล , 2556)

                        (5)  ตัวแปรสําคัญที่เปนปจจัยจูงใจใหเกษตรกรหันมาผลิตเมล็ดพันธุขาว คือ ราคาเมล็ดพันธุขาวที่
                             เกษตรกรไดรับจากรานคา ซึ่งสูงกวาราคาขาวเปลือกที่เกษตรกรขายใหกับโรงสี หรือ ทาขาว

                             ประมาณ 500-1,000 บาท ขึ้นอยูกับพันธุขาวที่ปลูกและคุณภาพของเมล็ดพันธุขาวที่แตละ
                             รานคากําหนด ซึ่งสวนใหญคือ จํานวนเมล็ดแดง  และความชื้น ซึ่งเปนตัวแปรที่เปนเกณฑของ

                             เมล็ดพันธุขาว
                        (6)  รูปแบบที่การศึกษาจํานวนหนึ่งแนะนําวาจะชวยลดปญหาเรื่องการขาดเงินทุนหมุนเวียนและ

                             ปญหาดานการตลาดใหกับศูนยขาวชุมชนได คือ การเปนเครือขายการผลิตระหวางรานคากับศูนย
                             ขาวชุมชนหรือกลุมเกษตรกร (มาฆะสิริ เชาวกุล , 2554 ; สุรพล จัตุพร ,  2556)



                  2.2  การสังเคราะหงานศึกษา
                         2.2.1  ปจจัยที่มีผลตอความสําเร็จการพัฒนาศูนยขาวชุมชนเชิงพาณิชย

                                การพัฒนาใหศูนยขาวชุมชนสามารถผลิตเมล็ดพันธุขาวเชิงพาณิชยใหประสบความสําเร็จได
                  นั้น งานศึกษาที่ผานมาชี้วากิจกรรมที่ดําเนินการมีอยางนอย 3 ดาน คือ

                        1)  งานดานเทคนิคของการผลิตเมล็ดพันธุขาวใหไดมาตรฐาน งานสวนนี้รับผิดชอบโดยศูนยเมล็ด
                             พันธุขาว หรือ ศูนยวิจัยขาว ของกรมการขาว สวนใหญจะออกมาในรูป โครงการฝกอบรมตางๆ

                        2)  งานดานบริหารจัดการกลุมเกษตรกร งานสวนนี้รับผิดชอบโดยกรมสงเสริมการเกษตร สวนใหญ
                             จะออกมาในรูปโครงการฝกอบรมเชนกัน

                        3)  การใหการสนับสนุนอุปกรณที่จําเปนสําหรับการผลิตเมล็ดพันธุ เชน เครื่องคัดเมล็ดพันธุขาว ลาน
                             ตาก อุปกรณถุงบรรจุ เปนตน แตมีจํานวนศูนยขาวจํานวนไมมากที่ไดรับการสนับสนุน เนื่องจาก

                             ขอจํากัดดานงบประมาณของรัฐ หรือ การใหการสนับสนุนเมล็ดพันธุขาวหลังการอบรม

                             ตอเนื่องกันเปนระยะเวลา 2-3 ป









                                                            - 19 -
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44