Page 40 -
P. 40

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                  การศึกษาพฤติกรรมการใชเมล็ดพันธุขาวและการประมาณการความตองการเมล็ดพันธุขาวสําหรับศูนยขาวชุมชน

                         ซึ่งเห็นวา การสนับสนุนงานทั้ง 3 ดานขางตน อาจจะยังไมเพียงพอตอการขับเคลื่อนใหศูนยขาวชุมชน
                  สวนใหญสามารถผลิตขาวเชิงพาณิชยได ความรูจากงานวิจัยที่ผานๆมาที่เกี่ยวกับการดําเนินงานของศูนยขาว

                  ชุมชน สามารถใชเปนขอมูลพื้นฐานสําหรับการหารูปแบบของการพัฒนาศูนยขาวชุมชนเชิงพาณิชยตอไปได


                        2.2.2 การสังเคราะหประเด็นที่คนพบจากการทบทวนเอกสารงานวิจัยและโครงการที่เกี่ยวกับการ

                  ผลิตเมล็ดพันธุคุณภาพดีของหนวยงานตางๆ
                        1)  พฤติกรรมการใชเมล็ดพันธุขาวของเกษตรกรมีผลตอการวางแผนการผลิตขาวของทั้ง

                             ผูประกอบการรานคาเมล็ดพันธุขาว สหกรณการเกษตรและศูนยขาวชุมชน ซึ่งเปนองคกรที่สําคัญ
                             ของการผลิตเมล็ดพันธุขาวเชิงพาณิชย

                        2)  ปจจัยที่กําหนดพฤติกรรมการใชเมล็ดพันธุของเกษตรกรมีตั้งแต ฤดูการเพาะปลูก ทัศนคติในเรื่อง
                             อัตราการใชเมล็ดพันธุขาว ชนิดพันธุของเมล็ดพันธุขาว การคาดการณเกี่ยวกับภูมิอากาศ ไป

                             จนถึงโครงการสนับสนุนของรัฐ ซึ่งปจจัยเหลานี้สามารถสงผลกระทบตอการวางแผนการผลิต
                             เมล็ดพันธุขาวขององคกรผลิตตางๆได

                        3)  เมล็ดพันธุขาวสวนใหญที่จําหนายอยูในตลาด เปนเมล็ดพันธุขาวที่มียังไมผานการรับรองมาตรฐาน
                             อยางเปนทางการจากกรมการขาว เนื่องมาจากระบบการรับรองมาตรฐานยังขาดประสิทธิภาพที่

                             ไมสามารถครอบคลุมพื้นที่ปลูกเมล็ดพันธุขาวไดทั่วถึง

                        4)  การพัฒนาใหศูนยขาวชุมชนผลิตเมล็ดพันธุขาว เพื่อยกระดับการผลิตเชิงพาณิชย มีขอจํากัดทั้ง
                             ทางดานอุปทานและอุปสงค ขอจํากัดดานอุปทานไดแก ดานงบประมาณของรัฐในการสนับสนุน

                             อุปกรณที่จําเปนตางๆ เชน เครื่องคัดเมล็ดพันธุขาว ลานตาก และเงินทุนหมุนเวียนในการรับซื้อ
                             เมล็ดพันธุขาวจากสมาชิก สวนขอจํากัดดานอุปสงค คือ ศูนยขาวชุมชนไมมีขอมูลลักษณะความ

                             ตองการเมล็ดพันธุขาวของเกษตรกร
                        5)  การตรวจรับรองคุณภาพเมล็ดพันธุขาวที่ผลิตวาผานมาตรฐานเมล็ดพันธุขาวของกรมการขาว

                             หรือไมกระทําโดยการตรวจสอบผลผลิตขาวเปลือกที่สุมมาจากแปลงปลูกเมล็ดพันธุหลังการเก็บ
                             เกี่ยว เปนการตรวจรับรองคุณภาพเมล็ดพันธุที่ผลผลิต แตไมมีการรับรองกระบวนการผลิตหรือ

                             การรับรองแปลงปลูกเมล็ดพันธุขาว ถึงแมวาจะมีมาตรฐาน GAP Rice Seed แลวก็ตาม
                        6)  ดวยความละเอียดและซับซอนของแบบบันทึก และดวยขอจํากัดของจํานวนบุคลากรของศูนย

                             เมล็ดพันธุขาว และภาระงานประจําของการผลิตเมล็ดพันธุชั้นพันธุขยายของศูนยเมล็ดพันธุขาว

                             ทําใหการประเมินเพื่อการรับรองแปลงปลูกเมล็ดพันธุขาวตามแบบบันทึกการตรวจรับรองของ
                             GAP Rice Seed ไมสามารถขยายสูการปฏิบัติของเกษตรกรและรานคาไดโดยทั่วไป แมแต

                             outsource party ก็ยังไมนําไปปฏิบัติในการตรวจแปลง




                                                            - 20 -
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45