Page 38 -
P. 38
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
การศึกษาพฤติกรรมการใชเมล็ดพันธุขาวและการประมาณการความตองการเมล็ดพันธุขาวสําหรับศูนยขาวชุมชน
ขาว 28 แหง ซึ่งสวนใหญของเมล็ดพันธุชั้นพันธุจําหนายนี้ผลิตโดยภาคเอกชน ศูนยขาวชุมชน สหกรณ
การเกษตร และเกษตรกรทั่วไป
(4) ในปเพาะปลูก 2561/62 ศูนยวิจัยขาววางแผนผลิตเมล็ดพันธุ ชั้นพันธุคัด และชั้นพันธุหลัก เทากับ
290 ตัน และ 2,900 ตัน ตามลําดับ (ดูรายละเอียดการผลิตเมล็ดพันธุชั้นพันธุคัดและเมล็ดพันธุชั้นพันธุหลักได
ในภาคผนวก ง) สวนศูนยเมล็ดพันธุขาว 24 ศูนย (ในป 2562) ผลิตเมล็ดพันธุขาวชั้นพันธุขยายเทากับ 67,200
ตัน (กฤษณพงศ ศรีพงษพันธุกุล , 2561) ซึ่งจากองคความรูเรื่องขาวของกรมการขาว ระบุวา อัตราการใชเมล็ด
พันธุขาวตอไรในการผลิตเมล็ดพันธุชั้นพันธุขยายเพื่อผลิตเมล็ดพันธุขาวชั้นพันธุจําหนายเทากับ 15 กิโลกรัม/ไร
ถาใชวิธีปกดําดวยเครื่อง และถาสมมติวา ผลผลิตตอไรเฉลี่ยของเมล็ดพันธุขาวชั้นพันธุจําหนายที่ผลิตไดเทากับ
800-900 กิโลกรัม ก็เมื่อนํามาประมาณการถึงปริมาณเมล็ดพันธุขาวชั้นพันธุจําหนายที่ผลิตไดเทากับ 3.584 –
4.032 ลานตัน ซึ่งเปนปริมาณที่เกินกวาความตองการเมล็ดพันธุโดยรวม ซึ่งเมล็ดพันธุชั้นพันธุจําหนายนี้
หนวยงานหลักที่ทําการผลิตคือภาคเอกชน สหกรณการเกษตร ศูนยขาวชุมชน และเกษตรกรทั่วไปที่ผลิตเมล็ด
พันธุขาวขายแบบเมล็ดพันธุขาวสด โดยใชเมล็ดพันธุขาวชั้นพันธุขยายจากศูนยเมล็ดพันธุขาว
ประเด็นที่ 6 : ประเด็นอื่นๆ
นอกจากการสนับสนุนของภาครัฐในการยกระดับการผลิตเมล็ดพันธุขาวของศูนยขาวชุมชนขึ้นแลว ยัง
มีงานศึกษาอีกจํานวนหนึ่งที่เกี่ยวของกับผลการดําเนินการผลิตเมล็ดพันธุขาวของศูนยขาวชุมชนหรือกลุม
เกษตรกร ผลการศึกษาชี้ใหเห็นตัวแปรที่เกี่ยวของที่สําคัญๆ
(1) การผลิตเมล็ดพันธุขาวของศูนยขาวชุมชนจะเปนกิจกรรมในชวงที่มีโครงการของรัฐสนับสนุน
เพราะการสนับสนุนที่ไดรับคือ การใหเมล็ดพันธุขาวกับศูนยเมล็ดพันธุขาวที่เขารวมโครงการ ศูนย
ละ 1-3 ตัน ติดตอกัน 2-3 ป (ศรธวรรณรัศร แทนสุวรรณ ,2554 ; เชษฐา แหลปอง , 2555)
(2) การผลิตเมล็ดพันธุขาวของศูนยขาวชุมชนสวนใหญยังอยูในระดับการผลิตเพื่อการพึ่งพาตนเอง
หรือชุมชนที่อยูรอบๆศูนย (มนตรี กองมงคล , 2555; จงรักษ มูลเฟย , 2550 ; สัจจา บรรจงศิริ
,2552) และ การสงเสริมการผลิตเมล็ดพันธุขาวของภาครัฐที่ใหกับศูนยขาวชุมชนสวนใหญ ให
ความสําคัญกับการผลิตเมล็ดพันธุขาวใหเพียงพอมากกวาการควบคุมการผลิตคุณภาพเมล็ดพันธุ
ขาวใหไดมาตรฐานอยางจริงจัง (พีรสิทธิ์ คํานวนศิลป , 2555 และ วิไล ปาละวิสุทธิ์ , 2552)
(3) การผลิตเมล็ดพันธุขาวของศูนยขาวชุมชนยังประสบปญหาดานการขาดเงินทุนหมุนเวียนในการ
รับซื้อเมล็ดพันธุขาวที่สมาชิกผลิต เพราะการรับซื้อเมล็ดพันธุขาวจากสมาชิกเปนธุรกิจเงินสด
(มาฆะสิริ เชาวกุล , 2557)
(4) การปรับเปลี่ยนวิธีเพาะปลูกจากวิธีหวานน้ําตมมาเปนการปกดําดวยเครื่องปกดํา เปนตัวแปร
สําคัญอีกตัวหนึ่งที่ทําใหเกษตรกรตัดสินใจไมมาทําการปลูกเมล็ดพันธุขาว เพราะตัวแปรนี้ เพิ่ม
- 18 -