Page 33 -
P. 33

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                  การศึกษาพฤติกรรมการใชเมล็ดพันธุขาวและการประมาณการความตองการเมล็ดพันธุขาวสําหรับศูนยขาวชุมชน

                  ขาวชุมชนในเขตภาคเหนือตอนลาง พบวา เมล็ดพันธุขาวที่ผลิตโดยศูนยขาวชุมชนสวนใหญยังไมผานมาตรฐาน
                  ตัวแปรสําคัญที่อธิบาย นอกจากจะเปนเรื่องของการควบคุมมาตรฐานการผลิตแลว ยังมีเรื่องของการขาด

                  อุปกรณจําเปนเชน เครื่องคัดเมล็ดพันธุ ซึ่งกรมสงเสริมการเกษตรไมสามารถสนับสนุนไดทุกศูนยขาวชุมชน รวม
                  ไปถึงปญหาการขาดแคลนเงินทุนหมุนเวียน โกดังเก็บรักษาเมล็ดพันธุขาว และปญหาดานการตลาดและการ

                  บริหารจัดการในรูปของกลุม การผลิตเมล็ดพันธุขาวของเกษตรกรภายใตศูนยขาวชุมชนเหลานี้จะดําเนินการ

                  ตอเมื่อไดรับการสนับสนุนเมล็ดพันธุขาวจากกรมการขาวเทานั้น นอกจากนี้ การศึกษาของมาฆะสิริ เชาวกุล
                  (2557) ในเรื่องการแกปญหาการผลิตเมล็ดพันธุขาวของผูประกอบการรานคาใหไดมาตรฐานของกรมการขาว

                  และการแกปญหาดานการตลาดใหกับศูนยขาวชุมชนไปในเวลาเดียวกัน คือ การเปนเครือขายรวมกันระหวาง
                  ผูประกอบการรานคา ศูนยขาวชุมชนและศูนยเมล็ดพันธุขาวหรือศูนยวิจัยขาว ในรูป “พันธมิตรธุรกิจ” โดย

                  ระบบการรับรองมาตรฐานแปลงตองเปนสวนหนึ่งของระบบการรับรองมาตรฐานเมล็ดพันธุขาว


                         ประเด็นที่ 3 : ตลาดและโครงสรางการตลาดของเมล็ดพันธุขาวของประเทศไทย
                         ถึงแมวาองคกรผูผลิตเมล็ดพันธุขาวจะมีเพียง 4 องคกรหลักเทานั้น นั่นคือ กลุมผูประกอบการรานคา

                  เมล็ดพันธุขาว ศูนยขาวชุมชน สหกรณการเกษตรและกรมการขาว แตภายในองคกรแตละองคกรก็มีผูผลิตราย
                  ยอยจํานวนมาก ดังนั้นโครงสรางตลาดเมล็ดพันธุขาวที่แทจริงของแตละจังหวัดและของประเทศไทยจึงเปน

                  โครงสรางตลาดแบบแขงขัน พิจารณาจากราคาเมล็ดพันธุขาวที่ผูผลิตแตละคนกําหนดอิงอยูบนราคา 2 ราคา

                  คือ หนึ่งราคาขาวเปลือกที่เกษตรกรไดรับ แลวจึงบวกคาพรีเมียมของการเปนเมล็ดพันธุ ซึ่งคาพรีเมี่ยมมีความ
                  แปรปรวนสูง (Makasiri Chaowagul , 2013)  ซึ่งความแปรปรวนดังกลาวอธิบายดวยปจจัยหลายอยาง เชน

                  คุณภาพของเมล็ดพันธุขาวที่เกษตรกรลูกแปลงผลิตให และ สอง การกําหนดราคาขายเมล็ดพันธุขาวเปลือกของ
                  ผูประกอบการรานคา ยังใชราคาเมล็ดพันธุขาวของศูนยเมล็ดพันธุขาว กรมการขาวเปนราคาอางอิงสูงสุด

                  (มาฆะสิริ เชาวกุล , 2557) นอกจากนี้ ปจจัยสําคัญอีกตัวหนึ่งที่กําหนดระดับราคาเมล็ดพันธุขาวคือชนิดของ
                  พันธุขาว เชน พันธุ กข. หรือพันธุขาวหอม ราคาจึงไมใชปจจัยของการแขงขันในอุตสาหกรรมเมล็ดพันธุขาว แต

                  เปนเรื่องของคุณภาพของเมล็ดพันธุขาวของผูประกอบการรานคาแตละคน
                         สําหรับกลุมผูประกอบการรานคา กรมการขาวสนับสนุนใหมีสมาคมผูรวบรวมและจําหนายเมล็ดพันธุ

                  ขาว โดยสมาชิกของสมาคมคือชมรมผูผลิตและรวบรวมเมล็ดพันธุขาวในแตละจังหวัด สําหรับกรมการขาวแลว
                  บทบาทหลักที่คาดหวังของชมรมและสมาคม คือ การใหความรวมมือกับกรมการขาวในการควบคุมคุณภาพของ

                  เมล็ดพันธุที่ผลิตและจําหนายของสมาชิก แตที่ผานมาบทบาทดังกลาวไมสามารถดําเนินการได เพราะการ

                  รับรองมาตรฐานแปลงยังอยูในความรับผิดชอบของกรมการขาวเทานั้น ซึ่งมีบุคลากรจํากัด ถึงแมวากรมการ
                  ขาวจะมีโครงการตรวจรับรองแปลงผลิตเมล็ดพันธุขาวใหกับผูประกอบการรานคาที่ทําแปลงเมล็ดพันธุขาวใน

                  บางจังหวัดเชน ราชบุรี ชัยนาท และสุพรรณบุรี แตก็ยังมีอีก 20 ศูนยเมล็ดพันธุขาวที่ยังไมมีโครงการนี้ และ




                                                            - 13 -
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38