Page 30 -
P. 30
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
การศึกษาพฤติกรรมการใชเมล็ดพันธุขาวและการประมาณการความตองการเมล็ดพันธุขาวสําหรับศูนยขาวชุมชน
บทที่ 2
การทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ
การทบทวนวรรณกรรมการศึกษาที่เกี่ยวของมีวัตถุประสงคที่สําคัญ คือเพื่อถอดความรู และสังเคราะห
ตัวแปรสําคัญที่สงผลกระทบตอการใช การผลิต การตลาดเมล็ดพันธุขาว และระบบมาตรฐานเมล็ดพันธุขาวใน
ชวงเวลาที่ผานมา เพื่อที่จะนําความรูที่ไดนั้น มาใชเปนฐานสําหรับการปรับปรุง หรือ พัฒนากระบวนการที่จะ
ชวยสงเสริมการผลิตเมล็ดพันธุขาวเชิงพาณิชยใหมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นของศูนยขาวชุมชน ซึ่งเปนองคกรสําคัญ
องคกรหนึ่งดานการผลิตเมล็ดพันธุขาวของประเทศไทย เพื่อใหศูนยขาวชุมชนเหลานั้นสามารถพึ่งตนเองได
และยกระดับขึ้นเปนผูผลิตเชิงเมล็ดพันธุขาวพาณิชยในที่สุด ดังนั้น เพื่อใหไดความรูดังกลาว แนวทางการ
สังเคราะหความรูที่ไดจากการทบทวนเอกสารที่เกี่ยวของ ตลอดจนโครงการพัฒนาของหนวยงานของรัฐที่
เกี่ยวของกับเมล็ดพันธุขาวและศูนยขาวชุมชน จะกระทําในเชิงประเด็น แทนการทบทวนเปนรายงานการศึกษา
หรือรายโครงการพัฒนา โดยรายงานการศึกษาหรือโครงการพัฒนาหนึ่งๆ อาจมีประเด็นความรูหลายประเด็น
การศึกษาที่เกี่ยวของกับเมล็ดพันธุขาวที่ผานมา สามารถแบงออกไดเปน 6 ประเด็นดังนี้คือ
ประเด็นที่ 1 : การใชเมล็ดพันธุขาวในฐานะปจจัยการผลิต
ประเด็นที่ 2 : การผลิตและโครงสรางการผลิตเมล็ดพันธุขาวเชิงพาณิชย
ประเด็นที่ 3 : ตลาดและโครงสรางตลาดเมล็ดพันธุขาวของประเทศไทย
ประเด็นที่ 4 : คุณภาพของเมล็ดพันธุขาวที่จําหนายในตลาด
ประเด็นที่ 5 : การผลิตเมล็ดพันธุขาวใหไดคุณภาพเชิงพาณิชย
ประเด็นที่ 6 : ประเด็นอื่นๆ
2.1 การทบทวนงานศึกษา
ประเด็นที่ 1 : การใชเมล็ดพันธุขาวในฐานะปจจัยการผลิต
แบงเปน 2 ประเด็นยอย คือ
ประเด็นยอยที่ 1.1 : การใชเมล็ดพันธุขาวของเกษตรกร
แหลงที่มาของเมล็ดพันธุขาวที่เกษตรกรใชในการเพาะปลูกขาว มาจาก 2 แหลง คือ การนําขาวเปลือก
ของตนเองจากฤดูที่ผานมามาเปนเมล็ดพันธุ และ จากการซื้อเมล็ดพันธุ จากการศึกษาการเพาะปลูกขาว ป
เพาะปลูก 2556/57 ของครัวเรือนเกษตรกรจํานวน 603 ครัวเรือน ใน 26 หมูบานของอําเภอวัดโบสถ อําเภอ
เมือง และ อําเภอวังทอง ซึ่งเปนพื้นที่รับประโยชนของโครงการชลประทานแควนอย พบวา สําหรับการ
เพาะปลูกขาวนาปนั้น สัดสวนของเมล็ดพันธุขาวที่เปนของตนเอง และ เมล็ดพันธุขาวจากการซื้อเทากับรอยละ
47.0 และ 53.0 ตามลําดับ และสําหรับขาวนาปรัง คือรอยละ 32.0 และ 68.0 ตามลําดับ สาเหตุที่เกษตรกรซื้อ
- 10 -