Page 31 -
P. 31
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
การศึกษาพฤติกรรมการใชเมล็ดพันธุขาวและการประมาณการความตองการเมล็ดพันธุขาวสําหรับศูนยขาวชุมชน
เมล็ดพันธุขาวสําหรับการเพาะปลูกขาวนาปรังในสัดสวนที่เพิ่มขึ้น เพราะเกษตรกรจะทํานาปรังตอทันทีหลังเก็บ
เกี่ยวขาวนาป หรือทิ้งชวงไมเกิน 1 เดือน (มาฆะสิริ เชาวกุล , 2557) ทั้งนี้ เมล็ดพันธุขาวที่เกษตรกรในพื้นที่
ชลประทานแควนอย จังหวัดพิษณุโลก เลือกใชกวารอยละ 90 เปนพันธุรับรองของกรมการขาว พันธุที่เกษตรกร
เลือกใชมาก ไดแก พิษณุโลก 2 กข29 กข31 กข41 กข47 และ กข 49 สําหรับพื้นที่อื่น มานิต ฤาชา (2552)
พบวา เกษตรกรของจังหวัดชัยนาทใชเมล็ดพันธุขาวพันธุปทุมธานี 1 ที่มาจากการซื้อถึงรอยละ 76.0
สัดสวนการใชเมล็ดพันธุขาวของตนเองยังผันแปรไปตามปจจัยอื่นๆ โดยมาฆะสิริ เชาวกุล (2559)
พบวา การคาดการณเกี่ยวกับภัยแลงสงผลใหเกษตรกรที่ทํานาในพื้นที่ชลประทานจังหวัดพิษณุโลก ใชเมล็ด
พันธุของตนเองลดลงในการปลูกขาวนาปรัง ทั้งนี้เพราะเกษตรกรตองรีบปลูกขาวนาปรังเมื่อสิ้นฤดูฝน จึงตองรีบ
ซื้อเมล็ดพันธุขาวมาใชแทนการใชเมล็ดพันธุของตนเอง แตการเปลี่ยนแปลงของราคาขาวเปลือกที่เกษตรกร
ไดรับ ไมสงผลตอสัดสวนของการใชเมล็ดพันธุขาวของตนเองมากนักในการปลูกขาวนาป
สําหรับอัตราเฉลี่ยของการใชเมล็ดพันธุขาวตอไรของเกษตรกรในการทํานาหวานน้ําตมของทุก
การศึกษานั้น พบวา อยูระหวาง 28-33 กิโลกรัมตอไร (มาฆะสิริ เชาวกุล ,2557: อรวรรณ ศรีโสมพันธ ,2557;
มานิต ฤาชา , 2552) ซึ่งสูงกวาอัตราที่กรมการขาวแนะนําคือ 15 กิโลกรัมตอไร ซึ่งจากการศึกษาของมานิต ฤา
ชา ( 2552) ระบุเหตุผลที่เกษตรกรใหสําหรับการใชเมล็ดพันธุขาวในอัตราที่สูงวา “เผื่อนก เผื่อหนู และเผื่อ
ความแปรปรวนของภูมิอากาศ” แต จากการศึกษาของมาฆะสิริ เชาวกุล (2559) ดวยขอมูล panel data
พบวา อัตราการใชเมล็ดพันธุขาวของเกษตรกรในพื้นที่ชลประทานมีแนวโนมที่ลดลงจาก 33 กิโลกรัม/ไร ในป
2550 มาเปน 27 กิโลกรัมตอไร ในป 2558 สําหรับการปลูกขาวนาปรัง แตอัตราการใชเมล็ดพันธุตอไรสําหรับ
การปลูกขาวนาปไมเปลี่ยนแปลง คือประมาณ 25 กิโลกรัมตอไร
ประเด็นยอยที่ 1.2 คาใชจายดานเมล็ดพันธุในโครงสรางตนทุนการผลิตขาว
คาใชจายที่เปนตัวเงินและสัดสวนคาใชจายเมล็ดพันธุขาวในโครงสรางตนทุนการผลิตขาวมีแนวโนม
สูงขึ้น จากรอยละ 4.9 ของตนทุนรวมตอไร ของการเพาะปลูกขาวนาป ในปเพาะปลูก 2546/47 มาเปนรอยละ
11.51 ของตนทุนรวมตอไร ของการเพาะปลูกขาวนาป ในปเพาะปลูก 2552/53 (มาฆะสิริ เชาวกุล , 2554 )
ซึ่งการศึกษาการปลูกขาวนาปในพื้นที่รับประโยชนของโครงการชลประทานเขื่อนแควนอยบํารุงแดน ก็พบผล
การศึกษาลักษณะเดียวกัน กลาวคือ สัดสวนคาใชจายเมล็ดพันธุขาวตอไรในการเพาะปลูกขาวนาป มีแนวโนม
สูงขึ้นเชนกัน โดยเพิ่มจากรอยละ 6.30 มาเปนรอยละ 13.45 และ 14.73 ในปเพาะปลูก 2551/52 ,2553/54
และ 2555/56 ตามลําดับ ในทํานองเดียวกัน คาใชจายเมล็ดพันธุขาวตอไรของการเพาะปลูกขาวนาปรัง ก็มี
แนวโนมสูงขึ้นเชนกัน โดยเพิ่มจากรอยละ 7.14 มาเปนรอยละ 12.53 และ 15.73 ในปเพาะปลูก 2551/52
,2553/54 และ 2555/56 ตามลําดับ การเพิ่มขึ้นของคาใชจายเมล็ดพันธุตอไรดังกลาว มีสาเหตุหลัก คือ การ
เพิ่มขึ้นของราคาเมล็ดพันธุขาวในชวงเวลาดังกลาว (มาฆะสิริ เชาวกุล , 2556)
- 11 -