Page 32 -
P. 32

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                  การศึกษาพฤติกรรมการใชเมล็ดพันธุขาวและการประมาณการความตองการเมล็ดพันธุขาวสําหรับศูนยขาวชุมชน

                         ประเด็นที่ 2 :  การผลิตและโครงสรางการผลิตเมล็ดพันธุขาวของประเทศไทย
                         สําหรับการผลิตเมล็ดพันธุขาวเชิงพาณิชยนั้น กรมการขาวไดกําหนดยุทธศาสตรใหมของการผลิตและ

                  การกระจายเมล็ดพันธุขาวจากยุทธศาสตรที่เคยทําไวเมื่อป 2553 มาเปนยุทธศาสตรใหมตั้งแตป 2560 กรมการ
                  ขาวโดยศูนยเมล็ดพันธุขาว 24 ศูนย (จากเดิม 23 ศูนย) จะลดการผลิตเมล็ดพันธุขาวชั้นพันธุจําหนายลงจาก

                  เปาหมายเดิม 60,000 ตัน มาเหลือเพียง 16,800 ตัน แตจะเพิ่มการผลิตเมล็ดพันธุชั้นพันธุขยายขึ้นเปน

                  67,200 ตัน โดยจะสนับสนุนใหศูนยขาวชุมชนผลิตเมล็ดพันธุขาวปอนชุมชน 50,000 ตัน (กฤษณพงศ ศรีพงษ
                  พันธุกุล , 2561)

                         กรมการขาวประมาณการความตองการเมล็ดพันธุขาวของประเทศไทยในปเพาะปลูก 2562 มีสูงถึง
                  1,398,492 ลานตัน แตเปนเมล็ดพันธุที่ซื้อและเมล็ดพันธุขาวของเกษตรกรเองรอยละ 51 และ 49 ตามลําดับ

                  องคกรที่ผลิตเมล็ดพันธุขาวนอกจากศูนยเมล็ดพันธุขาว และศูนยขาวชุมชนแลว ก็มีสหกรณการเกษตรจํานวน
                  64 แหงจาก 3,900 แหง มีโรงงานปรับปรุงสภาพเมล็ดพันธุขนาด 2 ตันตอชั่วโมง ศักยภาพการผลิตรวม

                  37,000 ตันตอป และผลิตโดยผูประกอบการรานคาอีกรวม 250,000 ตัน โดยประเภทของเมล็ดพันธุขาวที่คาด
                  วาจะผลิตในปเพาะปลูก 2561/62  แบงเปนขาวหอม 555,831 ตัน ขาวเจา 544,259 ตัน ขาวเหนียว 289,983

                  ตัน และเปนเมล็ดพันธุขาวตลาดเฉพาะ 8,419 ตัน รวมเทากับ 1,398,492 ตัน (ยุทธศาสตรการผลิตและการ
                  กระจายเมล็ดพันธุขาว ป 2560-2565) ซึ่งคุณภาพของเมล็ดพันธุที่ผลิตยังเปนคําถามอยู เนื่องจากยังขาดระบบ

                  รับรองมาตรฐานอยางมีประสิทธิภาพ ถึงแมวากรมการขาวจะมีโครงการฝกอบรมการผลิตเมล็ดพันธุที่ได

                  มาตรฐานและการตรวจแปลง แตยังไมมีระบบการตรวจแปลงที่มีประสิทธิภาพที่สามารถครอบคลุมพื้นที่ปลูก
                  เมล็ดพันธุขาวของรานคาไดทั้งหมด (มาฆะสิริ เชาวกุล , 2559)

                         ศูนยขาวชุมชนเปนองคกรที่กรมการขาวและกรมสงเสริมการเกษตรรวมกันจัดตั้งขึ้น เพื่อเปนที่พึ่ง
                  ใหกับชุมชนในเรื่องการเปนแหลงผลิตเมล็ดพันธุขาวใหกับชุมชน การศึกษาที่เกี่ยวกับศูนยขาวชุมชนมีหลาย

                  ประเด็น เชน ศูนยขาวชุมชนตําบลใหมนาเพียง อําเภอแวง จังหวัดขอนแกน (เชษฐา แหลปอง , 2555) ที่ศึกษา
                  เกี่ยวกับการบริหารจัดการศูนยขาวชุมชน หรือ ศูนยขาวชุมชนบานหนองมะมวง จังหวัดนครปฐม (มนตรี กอง

                  มงคลและศานิต เกาเอี้ยน , 2555) ที่ศึกษาการดําเนินงานของศูนยขาวชุมชนเพื่อนําไปวางแผนธุรกิจ หรือศูนย
                  ขาวชุมชนตําบลดงใหญ อําเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา หรือ ศูนยขาวชุมชนบานปาระกํา อําเภปากพนัง

                  จังหวัดนครศรีธรรมราช ที่ศึกษาสภาพเศรษฐกิจและสังคมของสมาชิกของศูนยขาวชุมชน หรือสมเกียรติ จันทร
                  โพธิ์ (2553) ศึกษาวิธีการขยายแปลงผลิตเมล็ดพันธุขาว ซึ่งผลการศึกษาสรุปวา ศูนยขาวชุมชนคือองคกรสําคัญ

                  ที่จะสามารถขยายการผลิตดังกลาวได หรือสหกรณนิคมพิชัยพัฒนา จํากัด อําเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ (2553)

                  ทําการศึกษาการหาแนวทางการผลิตเมล็ดพันธุขาวของสหกรณและวิธีการจัดการการผลิตของสมาชิกของ
                  สหกรณ หรือ การศึกษาของสัจจา บรรจงศิริ( 2552) ศึกษาการทํางานของศูนยขาวชุมชน 9 แหงในจังหวัด

                  สุพรรณบุรี หรือการศึกษาของมาฆะสิริ เชาวกุล (2557) ที่ศึกษาศักยภาพของการผลิตเมล็ดพันธุขาวของศูนย




                                                            - 12 -
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37