Page 81 -
P. 81
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ชนิดของเบส ที่เป็นองค์ประกอบของกรดนิวคลีอิคสามารถแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มคือ
1. เพียวรีน (purine) ประกอบด้วย อะดินีน (adenine: A) และกวานีน (guanine: G)
2. ไพริมิดีน (pyrimidine) ประกอบด้วย ไซโตซีน (cytosine: C) ไธมีน (thymine: T)
และยูเรซิล (uracil: U) (รูปที่ 6-9)
NH O
2
N N N
N N N
NH NH H N NH
2
N N N
Purine Adenine Guanine
O
N O
CH
3
N N H N H N
N
N
N O H O N O H
H
Pyrimidine Cytosine Thymine Uracil
รูปที่ 6-9: โครงสร้างของเบสชนิดเพียวรีนและไพริมิดีน
สารประกอบที่เกิดจากการเกาะกันของเบสตัวใดตัวหนึ่งกับน้ำตาลเพนโตสเรียกว่า “นิวคลีโอ
ไซด์ (nucleoside)” เช่น อะดิโนซีน (adenosine) และถ้านิวคลีโอไซด์ทำปฏิกิริยากับกรด
ฟอสฟอริคจะเกิดเป็นสารประกอบที่เรียกว่า“นิวคลีโอไทด์ (nucleotide)” ขึ้น นิวคลีโอ
ไทด์จะมีการเกาะเรียงตัวกันในรูปแบบที่แน่นอน (รูปที่ 6-10) กรดนิวคลีอิคเป็น“โพลีนิวคลี
โอไทด์ (polynucleotide)” นิวคลีโอไทด์ที่มีน้ำตาลไรโบสเรียกว่า กรดไรโบนิวคลีอิคหรือ
อาร์เอ็นเอ (ribonucleic acids: RNA) หากประกอบด้วยน้ำตาลดีออกซีไรโบส เรียกว่า
กรดดีออกซีไรโบนิวคลีอิคหรือดีเอ็นเอ (deoxyribonucleic acids: DNA)
สารที่มีไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ 78