Page 76 -
P. 76
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
HC N
CH
โปรลีน CH CH ฮีสติดีน
2
2
C NH
(proline CH CH COOH (histidine)
2
) N CH
2
H NH CHCOOH
2
รูปที่ 6-6: ตัวอย่างกลุ่ม heterocyclic amino acids
2.6 Diamino - monocarboxylic amino acids เป็นกรดอะมิโนที่มีหมู่อะมิโน 2
หมู่และหมู่คาร์บอกซิล 1 หมู่ในโครงสร้าง จึงทำให้มีคุณสมบัติเป็นด่าง (basic amino acids)
ซึ่งได้แก่ กรดอะมิโนอาร์จินีนและไลซีน (รูปที่ 6-7) เป็นต้น
CH NH NH
2
2
2
CH N NH
2
CH NH
2
CH (CH )
2
2 3
NH CHCOOH NH CHCOOH
2
2
ไลซีน (lysine) อาร์จินีน (arginine)
รูปที่ 6-7: ตัวอย่างกลุ่ม basic amino acids
กรดอะมิโนที่พบในอาหารสัตว์มี 2 รูปแบบคือ L-form และ D-form โดยสัตว์สามารถใช้
ประโยชน์กรดอะมิโนในรูป L-form ได้ดีกว่า ดังนั้นหากสัตว์ได้รับกรดอะมิโนในรูป D-form
จำเป็นต้องเปลี่ยนให้อยู่ในรูปของ L-form ก่อนจึงจะนำไปใช้ประโยชน์ได้ (รูปที่ 6-8)
เนื่องจากร่างกายสัตว์มักขาดเอ็นไซม์ที่ใช้ในปฏิกิริยาการเปลี่ยนจาก D-form เป็น L-form
ของกรดอะมิโนที่จำเป็นนั่นเอง
สารที่มีไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ 73