Page 131 -
P. 131

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว








                     อาร์เอ็นเอ การขาดไวตามินดีทำให้สัตว์ขาดแคลเซียมและฟอสฟอรัสเป็นผลให้เกิดอาการโรค

                     กระดูกอ่อน (rickets) ในสัตว์ระยะกำลังเจริญเติบโต และในสัตว์ที่โตเต็มวัยจะเป็นโรค

                     กระดูกเปราะหรือโรคกระดูกพรุน (osteomalacia)

                     2. การทำงานของฮอร์โมนพาราไทรอยด์ (parathyroid hormone) ซึ่งทำหน้าที่ควบคุม


                     ระดับแคลเซียมและฟอสฟอรัสในกระแสเลือด

                     3. บทบาทต่อการดูดซึมฟอสฟอรัสกลับจากไต

                     4. เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์โปรตีน โดยมีบทบาทต่อการถอดข้อความจากดีเอ็นเอไปยัง

                     messenger RNA




                                    cholecalciferol จากอาหาร     7-dehydrocholesterol จากผิวหนัง




                                                    cholecalciferol: D3

                                                              ที่ตับ

                                                 25-hydroxycholecalciferol

                                                              ที่ไต

                                 1,25-dihydroxycholecalciferol หรือ 24,25-dihydroxycholecalciferol



                                                      อวัยวะเป้าหมาย




                                          รูปที่ 8-5: การนำไวตามินดีไปใช้ประโยชน์ในร่างกาย

                                          ที่มา: McDonald et al. (2002)


                     • ไวตามินอี   ไวตามินอีที่พบตามธรรมชาติมีโครงสร้างถึง 8 แบบ โดยสามารถแบ่งออกเป็น

                     2 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ











                     ไวตามิน                                                                         128
   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136