Page 48 -
P. 48

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                       ปัญหำและอุปสรรคของกำรจัดกำรระบบกำรขนส่งและห่วงโซ่อุปทำนของกำรส่งออกทุเรียน ล ำไย

               และมังคุดไปยังประเทศจีน



                       อุปสรรคส ำคัญของกำรส่งออกทุเรียน



                       จำกกำรศึกษำของวนิดำ เพ็งจันทร์ (2558)  ได้ศึกษำถึงปัญหำและอุปสรรคกำรค้ำทุเรียนระหว่ำง

               ประเทศไทยกับประเทศจีน พบว่ำเกษตรกรของไทยขำดกำรพัฒนำคุณภำพของผลผลิตอย่ำงเป็นระบบเพื่อกำร

               ส่งออก โดยที่เกษตรกรส่วนใหญ่ยังคงใช้เทคนิคและวิธีกำรเพำะปลูกแบบเดิม ไม่ปฏิบัติตำมวิธีกำรเกษตรดีที่


               เหมำะสม (Good  Agricultural  Practices:  GAP)  เนื่องจำกเข้ำไม่ถึงข้อมูลข่ำวสำรด้ำนกำรตลำดและ

               กำรเกษตร ท ำให้ส่งผลกระทบต่อคุณภำพของทุเรียน โดยเฉพำะคุณภำพที่ตรงตำมควำมต้องกำรของผู้น ำเข้ำ

               ปลำยทำง ท ำให้กำรส่งออกขยำยตัวได้ช้ำลง รวมถึงเกษตรกรไม่มีเงินลงทุนพัฒนำควบคุมคุณภำพ ประกอบ

               กับรำคำผลผลิตที่ได้ค่อนข้ำงต่ ำ จึงไม่จูงใจให้เกษตรกรเร่งปรับปรุงคุณภำพ และเกษตรกรส่วนใหญ่เป็นรำย

               เล็ก จึงไม่มีอ ำนำจต่อรองรำคำกับผู้รวบรวมผลผลิตได้ดีพอ



                       นอกจำกนี้ สมพร อิศวิลำนนท์ และ ปิยะทัศน์ พำฬอนุรักษ์ (2562)  ได้พบว่ำกำรบริหำรจัดกำร

               เกี่ยวกับตลำดส่งออกทุเรียนของไทยยังขำดแนวทำงเพื่อสร้ำงกำรขับเคลื่อนเชิงรุกในกำรขยำยโอกำสทำง

               กำรค้ำ ซึ่งอุปสรรคกำรส่งออกของทุเรียน เกิดจำกมำตรกำรเชิงนโยบำยที่ได้ก ำหนดขึ้นโดยภำครัฐทั้งในอดีต

               และที่ด ำเนินอยู่ในปัจจุบันนั้น มีกำรแก้ไขปัญหำที่ยังขำดกำรวิเครำะห์ที่อยู่บนพื้นฐำนของข้อเท็จจริง

               ก่อให้เกิดปัญหำในกำรบริหำรจัดกำรตลำดส่งออกทุเรียน น ำไปสู่กำรเสียโอกำสของประเทศไทยทั้งในระดับมห

               ภำคและในระดับเกษตรกร อีกทั้งในปัจจุบันกำรส่งออกทุเรียนของไทยเริ่มมีคู่แข่งที่ส ำคัญ คือ ทุเรียนจำก

               มำเลเซีย เพรำะประเทศจีนได้อนุญำตให้มำเลเซียสำมำรถส่งออกทุเรียนสดเข้ำประเทศได้ แสดงให้เห็นว่ำ

               ประเทศจีนมีช่องทำงในกำรน ำเข้ำทุเรียนได้หลำกหลำยช่องทำงมำกยิ่งขึ้น




                       ส ำหรับอุปสรรคทำงด้ำนกำรขนส่งทุเรียน ได้มีข้อก ำหนดที่เคร่งครัดเกี่ยวกับกำรตรวจสอบคุณภำพ
               ของสินค้ำ เช่น กำรตรวจสอบสำรเคมีตกค้ำง มีจ ำนวนตู้คอนเทนเนอร์ที่ไม่เพียงพอ จึงท ำให้ผู้ประกอบกำรต้อง

               เสียค่ำใช้จ่ำยในกำรน ำเข้ำตู้คอนเทนเนอร์เปล่ำ ส่งผลให้ต้นทุนกำรส่งออกของผู้ประกอบกำรสูงขึ้น นอกจำกนี้

               ระบบตลำดยังไม่มีตลำดกลำงที่แท้จริง ซึ่งเป็นระบบที่มีควำมส ำคัญในกำรค้ำสินค้ำเกษตร ควรท ำหน้ำที่บน
               พื้นฐำนของควำมยุติธรรม เปิดเผย และเสมอภำค ที่มีกำรสร้ำงสมดุลระหว่ำงอุปทำนและอุปสงค์ โดยกำร




               ส ำนักงำนกองทุนสนับสนุนกำรวิจัย              36                   สถำบันบัณฑิตพัฒนบริหำรศำสตร์
               ฝ่ำยเกษตร
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53