Page 45 -
P. 45

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                       เกณฑ์กำรตรวจประเมินมำตรฐำนของ  (Good  Agricultural  Practices:  GAP)  มีรำยละเอียด

               ดังนี้



                       ประเด็นแรก แหล่งน้ ำในกำรเพำะปลูก ต้องเป็นแหล่งน้ ำสะอำด ไม่ก่อให้เกิดกำรปนเปื้อนในผลิตผล

               ประเด็นที่สอง พื้นที่เพำะปลูก ต้องเป็นพื้นที่ที่ไม่มีวัตถุอันตรำย ไม่ก่อให้เกิดสำรตกค้ำงหรือสิ่งปนเปื้อน

               ประเด็นที่สำม กำรใช้วัตถุอันตรำยทำงกำรเกษตร ต้องใช้ตำมค ำแนะน ำของกรมวิชำกำรเกษตร กระทรวง

               เกษตรและสหกรณ์ หรือค ำแนะน ำในฉลำกที่ขึ้นทะเบียนอย่ำงถูกต้อง ประเด็นที่สี่ กำรจัดกำรคุณภำพใน

               กระบวนกำรผลิตก่อนกำรเก็บเกี่ยว ต้องปฏิบัติตำมขั้นตอนกำรเพำะปลูกและขั้นตอนก่อนกำรเก็บเกี่ยวตำม


               ข้อก ำหนดมำตรฐำนสินค้ำเกษตรและอำหำรแห่งชำติ ส ำหรับผลิตผลแต่ละชนิดหรือตำมข้อก ำหนดคุณภำพ

               ของคู่ค้ำ เพื่อเป็นกำรดูแลให้ผลผลิตมีคุณภำพ ประเด็นที่ห้ำ กำรเก็บเกี่ยวและกำรปฏิบัติหลังกำรเก็บเกี่ยว

               วิธีกำรเก็บเกี่ยวต้องไม่เกิดผลกระทบต่อคุณภำพของผลิตผลและไม่มีสำรปนเปื้อนที่มีอันตรำยต่อควำม

               ปลอดภัยผู้บริโภค ประกอบกับกำรต้องมีกำรคัดแยกชั้นคุณภำพและขนำดก่อนกำรจ ำหน่ำยตำมข้อก ำหนดใน

               มำตรฐำนสินค้ำเกษตรและอำหำรแห่งชำติที่ก ำหนดส ำหรับผลผลิตแต่ละชนิดหรือตำมข้อก ำหนดคุณภำพของ

               คู่ค้ำ ประเด็นที่หก กำรพักผลิตผล กำรขนย้ำยในบริเวณแปลงเพำะปลูกและเก็บรักษำ ต้องมีกำรจัดกำรด้ำน

               สุขลักษณะของสถำนที่และวิธีกำรขนย้ำย เพื่อป้องกันผลกระทบต่อคุณภำพและกำรปนเปื้อนที่มีผลต่อควำม

               ปลอดภัยในกำรบริโภค ประเด็นที่เจ็ด สุขลักษณะส่วนบุคคลต้องมีกำรดูแลสุขลักษณะส่วนบุคคลเพื่อป้องกัน

               ไม่ให้ผลิตผลเกิดกำรปนเปื้อน โดยเฉพำะในขั้นตอนกำรเก็บเกี่ยวและหลังกำรเก็บเกี่ยวส ำหรับพืชที่ใช้บริโภค

               สด  และประเด็นสุดท้ำย คือ กำรบันทึกข้อมูล ควรมีกำรบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับกำรใช้วัตถุอันตรำยทำง

               กำรเกษตร และกำรปฏิบัติในกำรเพำะปลูกทั้งก่อนและหลังกำรเก็บเกี่ยวในขั้นตอนส ำคัญที่จะมีผลกระทบต่อ

               คุณภำพผลิตผล



                       ระบบกำรขนส่ง (Logistics) ของทุเรียน ล ำไย และมังคุดไปยังประเทศจีน




                       ประเทศจีนถือได้ว่ำเป็นตลำดส่งออกผลไม้ที่ใหญ่ที่สุดของประเทศไทย ระบบกำรส่งออกผลไม้ไทยไป
               ยังประเทศจีนในปัจจุบันนี้ได้มีช่องทำงที่หลำกหลำยมำกยิ่งขึ้น ได้มีทั้งกำรขนส่งผ่ำนเส้นทำงเรือ ทำงบก และ


               ทำงอำกำศ โดยระบบกำรขนส่งทำงเรือที่ส ำคัญของไทย ได้แก่ ท่ำเรือแหลมฉบัง ผ่ำนเวียดนำม ฮ่องกง เข้ำสู่

               ท่ำเรือกวำงโจว และท่ำเรือแหลมฉบัง สู่ท่ำเรือเซี่ยงไฮ้ ที่เป็นศูนย์กลำงกระจำยผลไม้ไทยไปทำงฝั่งทะเลจีน ซึ่ง

               ท่ำเรือแหลมฉบังเป็นท่ำเรือที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทยและเป็นท่ำเรือหลักส ำหรับกำรส่งออก  เนื่องจำกมีกำร


               ส ำนักงำนกองทุนสนับสนุนกำรวิจัย              33                   สถำบันบัณฑิตพัฒนบริหำรศำสตร์
               ฝ่ำยเกษตร
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50