Page 41 -
P. 41

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               แปรรูป เพื่อแปรสภำพเป็นผลิตภัณฑ์ที่ท ำจำกทุเรียน เพื่อจ ำหน่ำยไปยังตลำดต่ำงประเทศให้แก่พ่อค้ำขำยปลีก

               ผ่ำนทำงท่ำเรือเส้นทำงเดียวกับกำรส่งออกทุเรียนผลสด (วรำภรณ์ จันทร์เวียง, 2557)



                       กระบวนกำรคัดเกรดทุเรียนเพื่อกำรส่งออก เกณฑ์ในกำรคัดเกรดจะมีขนำดและรูปทรงเป็นที่นิยมต้อง

               มีลักษณะค่อนข้ำงกลม ไม่เบี้ยว สีเปลือกสดใส อำยุต้องไม่อ่อนเกินไป และน้ ำหนักที่นิยมประมำณลูกละ

               2.5-5.5  กิโลกรัม หลังจำกนั้นต้องท ำกำรตรวจสอบคุณภำพผลไม้ หลังจำกรับซื้อผลไม้จำกชำวสวน ผู้ส่งออก

               ต้องส่งทุเรียนไปให้กรมวิชำกำรเกษตร ตรวจควำมอ่อนแก่ของเนื้อทุเรียน โดยปกติมักก ำหนดให้ทุเรียนที่

               ส่งออกมีควำมสุกประมำณร้อยละ 70-80  โดยตลำดจีนนิยมบริโภคทุเรียนสุกร้อยละ 75 รวมถึงตรวจหำสำร


               ตกค้ำงตำมข้อก ำหนดของกรมวิชำกำรเกษตรส ำหรับสินค้ำที่ส่งออกไปประเทศที่ก ำหนด และผู้ส่งออกต้องส่ง

               ตัวอย่ำงทุเรียนไปที่ห้องปฏิบัติกำรทดสอบ (Laboratory)  ของกรมวิชำกำรเกษตร ซึ่งใช้เวลำประมำณ 1  วัน

               จึงจะทรำบผล และขั้นตอนสุดท้ำย คือ กำรบรรจุทุเรียนหลังจำกคัดเกรดแล้ว จะน ำทุเรียนมำป้ำยน้ ำยำ

               เพื่อให้ทุเรียนสุกสม่ ำเสมอ และชุบน้ ำยำป้องกันเชื้อรำ เป่ำลมท ำควำมสะอำด ติดสติกเกอร์ระบุยี่ห้อชื่อผู้

               ส่งออก ชั่งน้ ำหนักและบรรจุใส่กล่อง และขนขึ้นบรรจุในตู้คอนเทนเนอร์ เพื่อกำรส่งออกต่ำงประเทศ



                       กำรบริหำรจัดกำรระบบห่วงโซ่อุปทำนล ำไย



                       อภิชำต โสภำแดง และคณะ (2551)  ได้พบว่ำภำพรวมระบบห่วงโซ่อุปทำนล ำไยสดเพื่อจ ำหน่ำย

               ภำยในประเทศนั้น ได้เริ่มจำกกำรที่เกษตรกรผู้ปลูกล ำไยขำยให้พ่อค้ำรวบรวมผลผลิต ซึ่งมีทั้งในระดับท้องถิ่น

               และระดับจังหวัด แล้วจึงน ำมำจ ำหน่ำยในตลำดค้ำส่ง เพื่อกระจำยสินค้ำไปสู่ผู้บริโภคในล ำดับต่อไป ในขณะที่

               กำรบริหำรจัดกำรระบบห่วงโซ่อุปทำนเพื่อกำรส่งออกต่ำงประเทศจะมีจุดรวบรวมสินค้ำหรือล้งในพื้นที่ที่ได้รับ

               ผลผลิตมำจำกเกษตรกร หลังจำกนั้นก็น ำไปคัดแยกเพื่อกำรส่งออก หรือส่งไปยังร้ำนค้ำปลีกขนำดใหญ่ โดยผู้

               ส่งออกจะมีกำรน ำล ำไยสดไปผ่ำนกระบวนกำรอบควันด้วยซัลเฟอร์ไดออกไซด์ เพื่อให้ล ำไยคงควำมสดไว้ได้

               นำนมำกยิ่งขึ้นและไม่เสียรสชำติ รวมถึงจงกลมบดินทร์ แสงอำสภวิริยะ และคณะ (2553) ได้ศึกษำระบบกำร


               ผลิตล ำไยสดเพื่อกำรส่งออกของไทย มีผู้เกี่ยวข้องหลักกับระบบห่วงโซ่อุปทำนล ำไยมีอยู่ 3 กลุ่ม ได้แก่
               เกษตรกรผู้ปลูกล ำไย ผู้รวบรวมหรือล้ง และผู้ส่งออก โดยเกษตรกรผู้ปลูกล ำไยต้องมีกำรจดทะเบียนสมำชิก


               GAP กับกรมวิชำกำรเกษตร ส่วนผู้รวบรวมหรือล้งนั้นท ำหน้ำที่ในกำรรมควันล ำไยด้วยสำรซัลเฟอร์ไดออกไซด์

               ที่ได้รับรองตำมเกณฑ์ GMP  ที่ได้ขึ้นทะเบียนกับส ำนักวิจัยและพัฒนำกำรเกษตร รวมถึงติดต่อตกลงซื้อขำย

               ก่อนถึงฤดูเก็บเกี่ยว และรับผิดชอบในกำรคัดแยกขนำด คุณภำพ ตลอดจนเตรียมกำรขนส่งล ำไยจำกสวนไปยัง


               ส ำนักงำนกองทุนสนับสนุนกำรวิจัย              29                   สถำบันบัณฑิตพัฒนบริหำรศำสตร์
               ฝ่ำยเกษตร
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46