Page 39 -
P. 39
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
กำรเปลี่ยนแปลงที่เห็นได้ชัดจำกตำรำงที่ 2.6 คือรำคำมังคุดมีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ
16.18 ต่อปี โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งในปี พ.ศ. 2560 ที่รำคำมังคุดส่งออกปรับตัวเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 24.99
ขณะเดียวกันข้อมูลสถิติของส ำนักงำนเศรษฐกิจกำรเกษตรก็พบว่ำรำคำสินค้ำเกษตรที่เกษตรกรขำยได้ ณ ไร่
นำของมังคุด ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2560 ได้ปรับตัวเพิ่มขึ้นจำกระดับเฉลี่ยประมำณ 18-28 บำท/กิโลกรัม เป็นรำคำ
40-50 บำท/กิโลกรัม โดยเฉพำะมังคุดที่ได้ตำมมำตรฐำนขำยได้รำคำสูงกว่ำ 100 บำท/กิโลกรัม และผลขนำด
เล็กจะได้รำคำ 70-80 บำท/ กิโลกรัม ทั้งนี้จำกกำรลงส ำรวจพื้นที่และสอบถำมเกษตรกรในจังหวัดระยอง
พบว่ำกำรเพิ่มขึ้นของรำคำส่วนหนึ่งเป็นผลมำจำกบริษัทรำยใหญ่ที่เข้ำมำรับซื้อผลผลิตและส่งออกไปยัง
ประเทศจีน
อย่ำงไรก็ดี ในอนำคตถ้ำอินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และเวียดนำมสำมำรถพัฒนำศักยภำพในกำรผลิต
และขยำยพื้นที่เพำะปลูกได้มำกขึ้นก็จะเป็นคู่แข่งกำรค้ำที่ส ำคัญของไทย เนื่องจำกภูมิอำกำศที่ใกล้เคียงกัน
และมีแรงงำนมำกกว่ำไทย นอกจำกนั้น ประเทศไทยประสบปัญหำในส่วนของพื้นที่ที่เป็นแหล่งผลิตมังคุดที่
ส ำคัญ คือ จังหวัดจันทบุรี โดยส ำนักงำนเกษตรจังหวัดจันทบุรี (2557) ระบุว่ำมีปัญหำกำรตลำด คือ ผลผลิต
ในกำรส่งออกไม่มีคุณภำพ และไม่เป็นไปตำมมำตรฐำนที่ก ำหนดของประเทศผู้น ำเข้ำ โดยมีกำรพบกำร
ปนเปื้อนของสำรเคมี หรือมีจุลินทรีย์เกินค่ำมำตรฐำนที่ก ำหนด กำรปฏิบัติหลังกำรเก็บเกี่ยวยังไม่ถูกต้อง และ
มีปัญหำแรงงำนไม่เพียงพอในช่วงกำรเก็บเกี่ยวจนถึงหลังกำรเก็บเกี่ยว ท ำให้มีผลกระทบต่อกำรจัดกำรให้ผลไม้
มีคุณภำพ รวมถึงระบบกำรค้ำของไทยยังเป็นระบบกำรค้ำแบบกึ่งผูกขำด โดยที่ผู้ประกอบกำรมีกำรรวมกลุ่ม
เพื่อก ำหนดรำคำ ไม่ให้เป็นไปตำมกลไกลตลำด ซึ่งมีผลกระทบต่อกำรส่งออกของมังคุด
นอกจำกนี้ ศศินภำ บุญพิทักษ์ และคณะ (2559) ชี้ว่ำกำรบริหำรจัดกำรห่วงโซ่อุปทำนมังคุดควรมี
กำรบริหำรจัดกำรที่รวดเร็วขึ้น ไม่ว่ำจะเป็นเกษตรกรผู้ปลูกมังคุด พ่อค้ำคนกลำง ล้ง และพ่อค้ำส่งออก เพื่อลด
กำรสูญเสียที่เปล่ำประโยชน์ จำกกำรที่ผลผลิตกระจุกตัวออกสู่ตลำด ท ำให้กำรระบำยผลผลิตออกจำกแหล่ง
ผลิตไปสู่ผู้บริโภคไม่ทัน ส่งผลให้ผลผลิตเน่ำเสียระหว่ำงกำรขนส่ง คุณภำพลดลง ดังนั้น ควรจะพัฒนำกำร
บริหำรจัดกำรห่วงโซ่อุปทำน โดยณภัทร ทิพย์ศรี และคณะ (2557) ได้ศึกษำกำรจัดกำรโลจิสติกส์และโซ่
อุปทำนของกำรส่งออกมังคุดไปยังประเทศจีนตอนใต้ ได้พบว่ำประเทศไทยควรจะใช้กรอบควำมร่วมมือทำง
เศรษฐกิจในกลุ่มอนุภำคลุ่มแม่น้ ำโขง 6 ประเทศ ได้แก่ กัมพูชำ ลำว พม่ำ ไทย เวียดนำม และมณฑลยูนนำน
(Great Mekong Sub-Region: GMS) เป็นช่องทำงในกำรขยำยกำรส่งออกผลไม้ไทยไปประเทศจีนได้เพิ่มมำก
ขึ้น เพื่อจะส่งผลให้กำรส่งออกมังคุดไปยังจีนมีคุณภำพดีขึ้น และมีต้นทุนที่ลดลง เนื่องจำกประหยัดระยะเวลำ
ส ำนักงำนกองทุนสนับสนุนกำรวิจัย 27 สถำบันบัณฑิตพัฒนบริหำรศำสตร์
ฝ่ำยเกษตร