Page 34 -
P. 34
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ปี
ประเทศ
2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561
นิวซีแลนด์ 2,854.65 3,025.39 2,985.07 3,084.29 2,956.14 2,815.74 2,802.20 2,917.65 3,026.85 2,934.95
อิตำลี 1,640.94 2,089.55 906.62 1,137.14 1,084.49 - 590.91 599.52 598.67 605.51
อื่นๆ 1,017.23 669.82 467.15 1,671.28 2,043.60 3,547.10 1,612.07 1,941.06 8,332.90 13,262.83
ทั่วโลก 468.33 515.68 535.83 599.30 666.71 685.29 658.34 786.22 850.43 965.80
อัตรำกำร 0.35 10.11 3.91 11.84 11.25 2.79 -3.93 19.42 8.17 13.57
ขยำยตัว (%)
ที่มำ: International trade center
พนิดำ บุญฤทธิ์ธงไชย (2561) อธิบำยว่ำล ำไยของไทยที่ปลูกในเขตจังหวัดจันทบุรีเป็นล ำไยที่ผลิตเพื่อ
กำรส่งออกไปประเทศจีนเป็นหลัก เนื่องจำกมีกำรขยำยกำรปลูกล ำไยนอกฤดูเพิ่มมำกขึ้นถึงร้อยละ 90 จำก
เดิมที่มีพื้นที่ปลูก 105,000 ไร่เศษ ปัจจุบันได้มีกำรขยำยพื้นที่ปลูกเพิ่มสูงขึ้นถึง 120,000 ไร่ ท ำให้มีปริมำณ
กำรส่งออกที่เพิ่มมำกขึ้น และสำมำรถเพิ่มรำยได้ให้กับเกษตรกร เพรำะล ำไยเป็นผลไม้ที่สำมำรถบังคับและ
ก ำหนดระยะเวลำให้ผลผลิตได้ตำมควำมต้องกำร โดยกำรใช้สำรโพแทสเซียมคลอเรต หรือ สำรรำดล ำไย ที่ท ำ
ให้ล ำไยสำมำรถผลิตนอกฤดูตำมควำมต้องกำรของตลำดที่ประเทศจีน และสำมำรถเก็บเกี่ยวผลผลิตในช่วง
ก่อนวันส ำคัญของประเทศจีน ไม่ว่ำจะเป็นวันตรุษจีน ปีใหม่และวันชำติจีน ซึ่งสำมำรถขำยได้ในรำคำที่ดีกว่ำ
ช่วงอื่นๆ นอกจำกนี้ กำรส่งออกล ำไยของไทยไปจีนได้รับประโยชน์มำกขึ้น ตั้งแต่ 1 ตุลำคม พ.ศ. 2546
เนื่องจำกมีกำรท ำควำมตกลงกำรค้ำเสรีอำเซียน-จีน (ASEAN China Free Trade Agreement: ACFTA) ที่
จีนได้ลดภำษีกำรน ำเข้ำสินค้ำล ำไยส ำหรับประเทศไทยเหลือร้อยละ 0 (กรมเจรจำกำรค้ำระหว่ำงประเทศ,
2557) ประกอบกับควำมต้องกำรบริโภคล ำไยในตลำดจีนมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตำมจ ำนวนประชำกรที่เพิ่มขึ้นของ
ประเทศจีน
อย่ำงไรก็ตำม ในอนำคตไทยอำจประสบปัญหำกำรแข่งขันกับประเทศเพื่อนบ้ำนอย่ำงเช่น กัมพูชำ ซึ่ง
มีภูมิศำสตร์และภูมิอำกำศใกล้เคียงกับประเทศไทยท ำให้ผลผลิตล ำไยมีคุณภำพและเป็นที่ยอมรับของตลำด
ประกอบกับกัมพูชำไม่มีเงื่อนไขกำรเช่ำหรือกำรถือครองที่ดิน และชำวต่ำงประเทศสำมำรถเข้ำท ำกำรเกษตร
ได้ ส่งผลให้นักลงทุนไทยและนักลงทุนจีนมีกำรเคลื่อนย้ำยและขยำยกำรเพำะปลูกในกัมพูชำมำกขึ้น ดังนั้น
เพื่อให้ไทยสำมำรถแข่งขันได้อย่ำงยั่งยืน หน่วยงำนภำครัฐ ภำคเอกชน และเกษตรกรที่เกี่ยวข้องจะต้องเร่ง
พัฒนำประสิทธิภำพและประสิทธิผล และมำตรฐำนในกำรผลิตให้ดี โดยด ำเนินกำรผลิตล ำไยตำมระบบ GAP
เพื่อลดต้นทุนกำรผลิต และปฏิบัติตำมกฎข้อบังคับในหัวข้อเรื่องกำรท ำเกษตรของประชำคมอำเซียนที่เน้นเรื่อง
ส ำนักงำนกองทุนสนับสนุนกำรวิจัย 22 สถำบันบัณฑิตพัฒนบริหำรศำสตร์
ฝ่ำยเกษตร