Page 29 -
P. 29

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               ประสิทธิภำพกำรผลิตและพัฒนำเทคโนโลยีกำรผลิตให้กับเกษตรกรรำยย่อย เพื่อให้เกิดกำรขยำยตัวในตลำด

               ส่งออก นอกจำกนี้กำรส่งออกทุเรียนแช่แข็งจำกประเทศมำเลเซียไปยังจีนได้มีข้อก ำหนดภำยใต้ข้อตกลงในพิธี

               สำรอย่ำงเข้มงวด คือ ทุเรียนแช่แข็งที่ส่งออกไปยังจีน ต้องมำจำกสวนและโรงงำนแช่แข็งและคัดบรรจุที่ขึ้น

               ทะเบียนกับกระทรวงเกษตรและอุตสำหกรรมเกษตรมำเลเซีย (The  Ministry  of  Agriculture  and  Agro-

               based Industry: MOA) โดยสวนจะต้องได้รับกำรปฏิบัติตำมมำตรฐำนปฏิบัติทำงกำรเกษตรที่ดีและเหมำะสม

               (Good  Agriculture  Practices:  GAP)  และใช้มำตรกำรควบคุมศัตรูพืชแบบผสมผสำน (Integrated  Pest

               Management:  IPM)  จะต้องท ำโครงสร้ำงตำข่ำยเพื่อป้องกันทุเรียนตกบนพื้นดิน และป้องกันควำมเสียหำย

               หรือกำรช้ ำของทุเรียน นอกจำกนี้ MOA มีกำรควบคุมโรงงำนแช่แข็งและคัดบรรจุที่ต้องปฏิบัติตำมมำตรฐำน


               กำรผลิตที่ดี (Good  Manufacturing  Practice:  GMP)  และโรงงำนแปรรูปต้องรักษำควำมสะอำดอยู่เสมอ

               และอยู่ในสภำพสุขลักษณะที่ดี ถ้ำหำกฝ่ำยจีนตรวจพบทุเรียนแช่แข็งที่ไม่ได้ส่งจำกโรงงำนแปรรูปที่ได้ขึ้น

               ทะเบียน ตรวจพบศัตรูพืชกักกันที่เฝ้ำระวัง ไม่ผ่ำนสุขอนำมัย ทุเรียนแช่แข็งล็อตนั้นห้ำมน ำเข้ำและส่งกลับ

               ประเทศ หรือถูกท ำลำยทันที จนกว่ำจะมีกำรปรับแก้ให้ตรงตำมข้อก ำหนดที่เกี่ยวข้อง ชี้ให้เห็นว่ำทุเรียน

               มำเลเซียที่ส่งออกไปยังจีน เป็นทุเรียนที่มีคุณภำพ ได้มำตรฐำน และได้รำคำสูงกว่ำทุเรียนของประเทศไทยเป็น

               อย่ำงมำก ดังนั้น ผู้ส่งออกไทยและชำวสวนจะต้องเร่งรักษำมำตรฐำนสินค้ำเพื่อไม่ให้ไทยต้องสูญเสียตลำดหลัก

               ที่ส ำคัญอย่ำงจีนให้กับคู่แข่งอย่ำงเช่นมำเลเซียที่สำมำรถปลูกทุเรียนได้ผลผลิตดีและมีคุณภำพและเข้ำมำแย่ง

               ส่วนแบ่งในตลำดทุเรียนมำกขึ้นในอนำคตต่อไป



                       สมพร อิศวิลำนนท์ (2562) ระบุว่ำในปัจจุบัน แหล่งผลิตทุเรียนที่ส ำคัญของโลก ได้แก่ อินโดนีเซีย

               รองลงมำได้แก่ ไทย มำเลเซีย เวียดนำม และฟิลิปปินส์  แต่กำรผลิตทุเรียนของอินโดนีเซียและฟิลิปปินส์เป็น

               กำรผลิตเพื่อกำรบริโภคภำยในประเทศเป็นส ำคัญ  เนื่องจำกยังมีข้อจ ำกัดในเรื่องระบบกำรผลิตให้ได้คุณภำพ

               และมำตรฐำนกำรส่งออก  ขณะที่กำรผลิตทุเรียนของไทยมีจุดเด่นทั้งในด้ำนคุณภำพและกำรจัดระบบสวน

               ภำยใต้ระบบกำรท ำกำรเกษตรที่ดี ท ำให้ทุเรียนไทยได้รับควำมเชื่อถือ จึงสำมำรถครองตลำดส่งออกรำยใหญ่ใน

               ตลำดกำรค้ำทุเรียนโลก อย่ำงไรก็ตำม  ทั้งเวียดนำมและมำเลเซียจะมีกำรปรับตัวในระบบกำรผลิต พัฒนำโซ่


               อุปทำนทุเรียน ปรับปรุงระบบโลจิสติกส์เพื่อกำรขนส่ง อีกทั้งอ ำนวยควำมสะดวกแก่นักธุรกิจจำกจีนให้มำ
               ลงทุนในธุรกิจส่งออกทุเรียน เพื่อยกระดับทุเรียนให้เป็นสินค้ำส่งออกพรีเมี่ยมของประเทศ ซึ่งอำจจะก้ำวขึ้นมำ


               เป็นคู่แข่งของไทยในตลำดส่งออกของภูมิภำคเอเชียตะวันออก







               ส ำนักงำนกองทุนสนับสนุนกำรวิจัย              17                   สถำบันบัณฑิตพัฒนบริหำรศำสตร์
               ฝ่ำยเกษตร
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34