Page 28 -
P. 28

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                                                                      ปี
                ประเทศ
                               2552     2553     2554    2555     2556     2557    2558     2559     2560     2561
                นิวซีแลนด์     2,513    3,130   3,571    3,286    4,824   4,636    5,167    5,969    5,658    5,926
                อื่นๆ          1,246    3,547   3,921    4,079    2,981   2,773    3,081    3,946    3,807    5,014
                ทั่วโลก         468      559      572     572      662    1,048    1,082    1,237    1,328    1,883
                อัตรำกำร       -0.64    19.44    2.33     0.00    15.73   58.31     3.24    14.33    7.36     41.79
                ขยำยตัว (%)
                  ที่มำ: International trade center



                       นอกจำกนั้น ในต้นปี พ.ศ. 2562  ทำงกำรจีนเริ่มมีควำมเข้มงวดในกำรน ำเข้ำทุเรียนจำกไทย โดย

               ทุเรียนที่ส่งไปยังจีนนั้นจะต้องระบุว่ำมำจำกสวนไหน และสวนผลไม้ต้องขึ้นทะเบียนและได้รับมำตรฐำนทำง

               กำรเกษตรที่ดี (Good Agricultural Practices: GAP) ส่วนโรงคัดบรรจุที่จะส่งออกผลไม้ต้องผ่ำนมำตรฐำน


               หลักเกณฑ์และวิธีกำรที่ดีในกำรผลิต (Good Manufacturing Practice: GMP)  พร้อมระบุเลขที่ GMP ของ

               โรงคัดบรรจุในใบรับรองสุขอนำมัยพืช เพรำะที่ผ่ำนมำสินค้ำที่ส่งไปยังประเทศจีนมักพบเพลี้ยแป้ง เพลี้ยหอย

               หนอนเจำะเม็ด และมีปริมำณยำฆ่ำแมลงเกินมำตรฐำน แสดงให้เห็นว่ำกำรส่งออกทุเรียนไทยไปยังประเทศจีน

               ในอนำคตยังมีควำมน่ำเป็นห่วง เนื่องจำกกำรบริหำรตลำดส่งออกทุเรียนของไทยยังขำดควำมรู้และแนวทำง

               มำตรำกำรในกำรจัดกำรควำมเสี่ยงกับข้อปัญหำต่ำง ๆ นอกจำกนี้ สมพร อิศวิลำนนท์ และปิยะทัศน์ พำฬ

               อนุรักษ์ (2562) ได้อธิบำยว่ำด้วยลักษณะทำงภูมิศำสตร์ทำงด้ำนโลจิสติกส์เป็นข้อจ ำกัดในกำรส่งออกของไทย

               เนื่องจำกกำรขนส่งทำงบกต้องขนส่งผ่ำนพรมแดนประเทศลำวและเวียดนำม ก่อนส่งต่อไปยังประเทศจีน ท ำ

               ให้ใช้ระยะเวลำในกำรขนส่งนำน ส่งผลให้คุณภำพทุเรียนลดลง อีกทั้งประเทศเพื่อนบ้ำนมีกำรพัฒนำกำรปลูก

               ทุเรียนในประเทศเพิ่มสูงขึ้น โดยเฉพำะประเทศมำเลเซีย มีกำรปลูกทุเรียนสำยพันธุ์มูซังคิง (Mu Sang King)

               ที่ได้เริ่มส่งออกไปยังฮ่องกงและจีนอย่ำงเป็นทำงกำรแล้ว และจะเป็นคู่แข่งกำรส่งออกทุเรียนที่ส ำคัญของไทย



                       อรทัย เอื้อตระกูล (2562) ชี้ว่ำรัฐบำลมำเลเซียได้เปลี่ยนยุทธศำสตร์ จำกประเทศผู้ผลิตปำล์มน้ ำมัน สู่

               กำรเป็นประเทศผู้ผลิตผลไม้แทน โดยเน้นที่กำรผลิตทุเรียน เนื่องจำกมีรำคำและรำยได้มำกกว่ำปำล์มน้ ำมันถึง

               9 เท่ำตัว ดังจะเห็นได้ว่ำประเทศมำเลเซียมีกำรก ำหนดแผนงำนส่งเสริมให้ทุเรียนเป็นแหล่งควำมมั่งคั่งของภำค

               กำรเกษตรในทศวรรษข้ำงหน้ำ (Suhana Safari et al, 2018) รวมถึงได้มีนโยบำยและแผนที่ชัดเจนในกำรท ำ


               สนับสนุนกำรผลิต และให้ควำมส ำคัญกับระบบกำรเพำะปลูกทุเรียนเพื่อกำรส่งออกมำกขึ้น อีกทั้งมีหน่วยงำน
               กลำงส่งเสริมกำรตลำดสินค้ำเกษตรของมำเลเซีย หรือที่เรียกว่ำ FAMA  (Federal  Agricultural  Marketing


               Authority)  เป็นหน่วงำนปฏิบัติในกำรสร้ำงมำตรฐำน กำรตลำด ให้ค ำแนะน ำ จัดกำรบรรจุภัณฑ์ ปรับปรุง




               ส ำนักงำนกองทุนสนับสนุนกำรวิจัย              16                   สถำบันบัณฑิตพัฒนบริหำรศำสตร์
               ฝ่ำยเกษตร
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33