Page 43 -
P. 43

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               ประเทศจีนไม่ควรมีก๊ำซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ตกค้ำงในเนื้อล ำไยเกิน 50 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ถ้ำพบว่ำปริมำณ

               ซัลเฟอร์ไดออกไซด์สูงกว่ำที่ก ำหนด ล ำไยจะถูกส่งตีกลับประเทศไทย



                       กำรบริหำรจัดกำรระบบห่วงโซ่อุปทำนมังคุด



                       จำกงำนวิจัยของ ณภัทร ทิพย์ศรี และคณะ (2557) พบว่ำ กำรเพำะปลูกมังคุดเพื่อจ ำหน่ำยในปัจจุบัน

               มีรูปแบบกำรจ ำหน่ำยทั้งภำยในประเทศและต่ำงประเทศ โดยกำรจ ำหน่ำยภำยในประเทศ จะเริ่มตั้งแต่

               เกษตกรผู้ปลูกมังคุดจะจ ำหน่ำยมังคุดให้แก่โรงงำนแปรรูป ตลำดท้องถิ่น และพ่อค้ำเร่ ซึ่งจะจ ำหน่ำยต่อให้


               ลูกค้ำภำยในประเทศเป็นล ำดับต่อไป ส่วนกระบวนกำรจ ำหน่ำยให้ลูกค้ำต่ำงประเทศ เกษตรกรผู้ปลูกมังคุด

               และเก็บเกี่ยวผลผลิตจะจ ำหน่ำยผ่ำนศูนย์รวบรวมผลผลิตหรือล้ง และจ ำหน่ำยตำมปริมำณและคุณภำพที่ผู้

               ส่งออกต้องกำรให้แก่ผู้ประกอบกำรส่งออกโดยตรง เพื่อส่งออกไปยังลูกค้ำต่ำงประเทศ นอกเหนือจำกนี้ยังมีอีก

               กระบวนกำรหนึ่ง คือ เกษตรกรผู้ปลูกมังคุดจะจ ำหน่ำยผ่ำนโรงงำนแปรรูปมังคุด เพื่อจ ำหน่ำยไปยังลูกค้ำ

               ต่ำงประเทศต่อไป ซึ่งได้สอดคล้องกับงำนศึกษำของศศินภำ บุญพิทักษ์ และคณะ (2559) ที่ได้ศึกษำระบบกำร

               จัดกำรห่วงโซ่อุปทำนผลไม้มังคุดในเขตจังหวัดจันทบุรี ระบุว่ำระบบกำรจัดกำรห่วงโซ่อุปทำนมังคุดนั้น ได้แบ่ง

               ออกเป็น 3 กลุ่มหลัก คือ ผู้ผลิต ผู้จ ำหน่ำย และผู้บริโภค ผู้ผลิต คือ เกษตรกรชำวสวนผลไม้ที่เพำะปลูกผลไม้

               ในพื้นที่จังหวัดจันทบุรี ถือว่ำมีควำมส ำคัญมำกต่อคุณภำพผลไม้ โดยเริ่มตั้งแต่กำรจัดซื้อ-จัดหำ บ ำรุงรักษำ

               เคลื่อนย้ำยเก็บเกี่ยวและหลังกำรเก็บเกี่ยว ต่อมำผู้จ ำหน่ำย หมำยถึง พ่อค้ำผู้รวบรวมผลผลิต พ่อค้ำขำยส่ง ล้ง

               หรือตัวแทนผู้ส่งออก ซึ่งมีหน้ำที่เป็นพ่อค้ำคนกลำงในกำรรวบรวมผลิตผลจำกเกษตรกร น ำมำคัดคุณภำพ พัก

               สินค้ำ ดูแลรักษำให้ได้มำตรฐำนกำรส่งออก รวมถึงกำรเคลื่อนย้ำยผลไม้สดจำกเกษตรกรไปยังผู้บริโภค

               ปลำยทำงทั้งภำยในประเทศและต่ำงประเทศ



                       นอกจำกนี้ สมชำย สิทธิโชค และคณะ (2553) ได้ศึกษำถึงกระบวนกำรบริหำรจัดกำรห่วงโซ่อุปทำน

               เพื่อส่งออกผลไม้ไปจีน โดยเกษตรกรจะเก็บเกี่ยวผลผลิต คัดคุณภำพของมังคุดในเบื้องต้น ท ำควำมสะอำด


               และด ำเนินกำรจัดส่งให้กับผู้รวบรวมหรือล้ง ผู้รวบรวมจะด ำเนินกำรส่งผ่ำนไปให้ตรวจสอบควำมอ่อนแก่ โดย
               ส ำนักวิจัยและพัฒนำกำรเกษตรท ำหน้ำที่ตรวจจะจัดส่งคนมำประมำน 6-7  คน แล้วท ำกำรสุ่มตรวจ โดยใช้


               ระยะเวลำประมำณ 15  นำที จึงทรำบผล หลังจำกนั้นด ำเนินกำรคัดเกรด ตรวจสอบคุณภำพของมังคุด ชุบ

               น้ ำยำ บรรจุกล่อง และชั่งน้ ำหนักตำมมำตรฐำนประมำณ 19 กิโลกรัม และส่งไปให้กรมวิชำกำรเกษตรในกำร

               สุ่มตรวจสำรพิษตกค้ำงในมังคุด เมื่อได้รับกำรอนุมัติจำกเจ้ำหน้ำที่กรมวิชำกำรเกษตรแล้ว ผู้ส่งออกด ำเนินกำร


               ส ำนักงำนกองทุนสนับสนุนกำรวิจัย              31                   สถำบันบัณฑิตพัฒนบริหำรศำสตร์
               ฝ่ำยเกษตร
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48