Page 47 -
P. 47

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               มำกกว่ำปีอื่นหลำยเท่ำตัว ท ำให้รถต้องใช้เวลำรอคิวนำน จึงท ำให้รถคอนเทนเนอร์ที่บรรจุทุเรียนไทยต้องจอด

               รอคิวที่ชำยแดนฝั่งเวียดนำม ณ ด่ำนโหย่วอี้กวนนำนถึง 3-4 วัน รวมถึงชำยแดนเวียดนำมมีปลั๊กไฟไม่เพียงพอ

               ส ำหรับตู้คอนเทนเนอร์ควำมเย็น จึงส่งผลต่อคุณภำพสินค้ำของผลไม้ไทย



                        ดังนั้น กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้เสนอกับจีนในกำรประชุมคณะกรรมกำรสุขอนำมัยพืช

               ไทย-จีน เพื่อเปิดเส้นทำงผลไม้ส่งออกจำกไทยไปจีนผ่ำนเส้นทำงบอกเพิ่มขึ้น 2  เส้นทำง คือ เส้นทำงแรก

               กำรขนส่งผ่ำนเส้นทำง R12 จำกจังหวัดนครพนม ด่ำนท่ำแขก แขวงค ำม่วน-สปป. ลำว ผ่ำนเวียดนำม และเข้ำ

               สู่ประเทศจีน โดยผ่ำนด่ำนผิงเสียง มณฑลกว่ำงซี ซึ่งเมืองผิงเสียงมีตลำดที่ส ำคัญ คือ ตลำดผลไม้เมืองเสียง


               (Pingxiang City) เป็นตลำดที่สำมำรถใช้เป็นประตูให้กับผลไม้ไทยเข้ำสู่ตลำดจีนได้ มีควำมสะดวกสบำย มีกำร

               บริหำรจัดระบบโลจิสติกส์ที่ดี และผ่ำนพิธีกำรศุลกำกรได้อย่ำงรวดเร็ว จึงท ำให้ผลไม้ไม่เน่ำเสีย และอีกเส้นทำง

               ที่ผ่ำนด่ำนตงซิง (Dongxing  Border) เป็นด่ำนกำรค้ำผลไม้แห่งใหม่ของเขตกว่ำงซีจ้วง (กระทรวงเกษตรและ

               สหกรณ์, 2562) ซึ่งเป็นด่ำนที่ตั้งอยู่ห่ำงจำกตลำดผลไม้ Mong Cai เพียงแค่ 150 เมตร และมีสิ่งอ ำนวยควำม

               สะดวกอย่ำงครบครัน เช่น ที่ตั้งส ำนักงำน โกดัง สถำบันกำรเงิน จึงช่วยท ำให้เกิดกำรค้ำขำยผลไม้ระหว่ำง

               ประเทศได้สะดวกมำกยิ่งขึ้น (กฤษณะ สุกันตพงศ์, 2561) และด่ำนแห่งนี้นิยมผ่ำนเส้นทำง R8 โดยมีจุดเริ่มต้น

               ที่จังหวัดบึงกำฬ เข้ำเขตปำกซันของ สปป.ลำว มุ่งสู่กรุงฮำนอย ประเทศเวียดนำม และสิ้นสุดที่กว่ำงซี ประเทศ

               จีนเช่นกัน (บุญทรัพย์ พำนิชกำร และคณะ, 2560) กำรเพิ่มเส้นทำงนี้ ถือได้ว่ำเป็นกำรเพิ่มด่ำนส่งออกฝั่งไทย

               ทำงด้ำนจังหวัดนครพนม รวมถึงเป็นกำรเพิ่มด่ำนน ำฝั่งจีนเข้ำ คือ ด่ำนตงซิง เพื่อให้เป็นด่ำนน ำเข้ำผลไม้จำก

               ต่ำงประเทศที่ส ำคัญ



                       สุดท้ำยระบบกำรขนส่งทำงอำกำศ ท่ำอำกำศยำนสุวรรณภูมิเป็นช่องทำงหลักในกำรขนส่ง อย่ำงไรก็

               ตำมไม่ค่อยเป็นที่นิยมมำกนัก เนื่องจำกมีค่ำใช้จ่ำยสูง รวมถึงสำมำรถส่งออกได้ในปริมำณที่ไม่มำกและไม่มี

               เที่ยวบินที่รับส่งผลไม้โดยตรง กำรบริหำรจัดกำรระบบขนส่ง ถือว่ำเป็นสิ่งส ำคัญเป็นอย่ำงมำกต่อกำรก ำหนด

               คุณภำพของผลไม้ ตั้งแต่กำรขนส่งต้นทำงจนถึงปลำยทำง ถ้ำหำกกำรบริหำรจัดกำรระบบกำรขนส่งไม่มี


               ประสิทธิภำพ ท ำให้เกิดปัญหำทำงด้ำนต้นทุนของค่ำใช้จ่ำยและเวลำ รวมถึงท ำให้สินค้ำมีคุณภำพที่ลดลงที่เกิด
               จำกกำรด ำเนินงำนที่ล่ำช้ำและใช้เวลำในกำรขนส่งที่นำนเกินไป ท ำให้สินค้ำไม่สำมำรถตอบสนองต่อควำม


               ต้องกำรของลูกค้ำได้ทันเวลำ (ณภัทร ทิพย์ศรี และคณะ, 2557)







               ส ำนักงำนกองทุนสนับสนุนกำรวิจัย              35                   สถำบันบัณฑิตพัฒนบริหำรศำสตร์
               ฝ่ำยเกษตร
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52