Page 52 -
P. 52

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               ต่อศักยภำพกำรแข่งขันของเกษตกรและล้งชำวไทยทั้งด้ำนบวกและด้ำนลบ โดยเฉพำะในธุรกิจผลไม้ไทย จำก

               กำรสืบค้นกำรเอกสำรยังมีกำรศึกษำเกี่ยวกับเรื่องนี้ค่อนข้ำงน้อย กุสุมำ สวนตะโก (2559)  เปรียบเทียบ

               กฎหมำยที่เกี่ยวข้องกับกำรส่งออกทุเรียนของไทยและกฎหมำยที่เกี่ยวข้องกับกำรน ำเข้ำของจีน ภำยใต้กำร

               เปลี่ยนแปลงมำตรกำรสุขอนำมัยและสุขอนำมัยพืช (SPS)  เพื่อให้ทรำบผลกระทบจำกกำรเปลี่ยนแปลง

               กฎหมำยดังกล่ำวที่มีต่อเกษตรกรในกำรส่งออกทุเรียน กำรศึกษำนี้สรุปว่ำ หลังจำกกำรแก้ไขดังกล่ำว ถึงแม้ว่ำ

               ปริมำณและมูลค่ำกำรส่งออกทุเรียนของไทยจะเพิ่มสูงขึ้น แต่กลับเป็นกำรเอื้อประโยชน์ให้แก่นักธุรกิจจีน

               โดยเฉพำะผู้ส่งออกจีนที่ร่วมทุนกับคนไทยส่งออกทุเรียนไปขำยที่จีน ซึ่งมีสัดส่วนรวมกันถึงร้อยละ 90 ของผู้

               ส่งออกทุเรียนในจังหวัดจันทบุรี แสดงถึงอ ำนำจผูกขำดกระบวนกำรผลิตและส่งออกทุเรียนไทย ผู้ส่งออกจีนที่


               ร่วมทุนกับคนไทยได้รับผลตอบแทนสุทธิเพิ่มขึ้นเฉลี่ยกิโลกรัมละ 33.61 บำท ขณะที่สัดส่วนผลตอบแทนสุทธิที่

               เกษตรกรได้รับน้อยลง สะท้อนให้เห็นว่ำ ตลำดส่งออกทุเรียนรวมถึงกระบวนกำรผลิตของประเทศไทยอยู่

               ภำยใต้กำรควบคุมของนักธุรกิจจีน เนื่องจำกล้งจีนมีควำมรู้และเข้ำใจสถำนกำรณ์ควำมต้องกำรในตลำด

               ต่ำงประเทศได้เป็นอย่ำงดีกว่ำผู้ส่งออกคนไทย และมีควำมพร้อมในด้ำนเงินทุนมำก ท ำให้ล้งจีนสำมำรถเข้ำมำ

               ท ำกำรตลำดในเชิงรุก สำมำรถลงทุนในกำรซื้อผลไม้ได้เป็นจ ำนวนมำก โดยกำรเข้ำมำเช่ำที่ดิน เพื่อท ำสวน

               ท ำโลจิสติกส์ และกลำยเป็นผู้ก ำหนดรำคำ รวมถึงล้งไทยนั้นยังขำดเงินทุนในกำรด ำเนินกำร ส่งผลให้กำรลงทุน

               เป็นจ ำนวนมำกเป็นไปได้ยำก ท ำให้เกษตรกรไทยอำจถูกครอบง ำโดยล้งต่ำงชำติ (อัทธ์ พิศำลวำนิช และคณะ,

               2559)



                        คณะกรรมำธิกำรพำณิชย์ กำรอุตสำหกรรม และกำรแรงงำน สภำนิติบัญญัติแห่งชำติปี พ.ศ. 2559

               ได้ศึกษำกำรตั้งโรงคัดบรรจุผลไม้ (ล้ง) ของผู้ประกอบกำรชำวต่ำงชำติในจังหวัดจันทบุรี พบว่ำมีโรงคัดบรรจุ

               ผลไม้ที่ขอกำรรับรองมำตรฐำน Good Manufacturing Practice (GMP) ซึ่งเป็นข้อก ำหนดในกำรส่งออก จำก

               กรมวิชำกำรเกษตรในจังหวัดจันทบุรีจ ำนวน 122  รำย แยกเป็นล้งทุเรียน 38  รำย ล ำไย 34 รำย และมังคุด

               24  รำย โดยกำรศึกษำนี้ระบุว่ำกว่ำเกือบร้อยละ 50 ของจ ำนวนล้งทั้งหมดเป็นของผู้ประกอบกำรชำวจีน

               ซึ่งอำศัยชื่อของคนไทยเป็นผู้ถือหุ้นแทน (Nominee) และได้ตั้งประเด็นในกำรติดตำมตรวจสอบเกี่ยวกับเรื่อง


               ควำมถูกต้องทำงกฎหมำยของกำรเข้ำมำประกอบกำรของผู้ประกอบกำรต่ำงด้ำว และกำรจ่ำยภำษีเงินได้นิติ
               บุคคล และภำษีอื่นๆ แต่เท่ำที่สืบค้นไม่พบผลกำรติดตำมในเรื่องดังกล่ำว




                        ต่อมำกำรศึกษำของศิรดำ ศิริเบญจพฤกษ์ (2561) พบว่ำในปี 2560 มีกำรเพิ่มขึ้นของจ ำนวนโรงคัด

               บรรจุผลไม้ที่ได้มำตรฐำน GMP จำกกรมวิชำกำรเกษตร จ ำนวน 389 รำยโดยในจ ำนวนนี้เป็นล้งทุเรียนจ ำนวน


               ส ำนักงำนกองทุนสนับสนุนกำรวิจัย              40                   สถำบันบัณฑิตพัฒนบริหำรศำสตร์
               ฝ่ำยเกษตร
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57