Page 44 -
P. 44

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               เครือข่ายที่เกี่ยวข้องโดยเฉพาะจากภาคเอกชนในการประสานข้อมูลความต้องการด้านการตลาด จับคู่กับภาค

               การผลิตของเกษตรกรและสถาบันเกษตรกรเพื่อให้สามารถวางแผนการผลิตทั้งในเชิงปริมาณคุณภาพ

               มาตรฐานตรงตามความต้องการของตลาด ลดปัญหาทั้งกรณีสินค้าเกษตรล้นตลาดและไม่เพียงพอ (กระทรวง

               เกษตรและสหกรณ์, 2561)
                       จากนโยบายการพัฒนาการเกษตรของกระทรวงเกษตรฯ ที่ผ่านมาได้มุ่งเน้นการลดต้นทุนการผลิต

               และยกระดับมาตรฐานสินค้า โดยขับเคลื่อนผ่านนโยบายส าคัญ 15 เรื่องประกอบกับในปัจจุบันภาคการเกษตร

               ยังมีปัญหาที่ต้องเร่งแก้ไขอย่างต่อเนื่อง เช่น ราคาสินค้าเกษตรตกต่ า ผลผลิตล้นตลาด ต้นทุนการผลิตสูง

               ประสบภัยแล้งหรือน้ าท่วม เป็นต้น อีกทั้งยังมีสาเหตุมาจากเกษตรกรไทยยังขาดปัจจัยส าคัญ 3 ด้าน คือ 1)

               ขาดความรู้  2) ขาดเงินทุน และ 3) ไม่มีตลาดรองรับ ด้วยเหตุนี้กระทรวงเกษตรฯ จึงก าหนดนโยบาย
               “การตลาดน าการผลิต” ซึ่งจะเป็นแนวทางให้เกษตรกรและกลุ่มเกษตรกร วางแผนการผลิตเพื่อตอบสนองกับ

               ความต้องการของตลาด โดยความร่วมมือระหว่างกระทรวงเกษตรฯ กระทรวงพาณิชย์และภาคเอกชนที่

               เกี่ยวข้องบูรณาการการท างานร่วมกัน ตัวอย่างเช่น จังหวัดที่น านโยบายนี้ไปปฏิบัติและส าเร็จอย่างเป็น

               รูปธรรม ได้แก่ จังหวัดอุดรธานี โดยส านักงานเกษตรจังหวัดอุดรธานี ได้จัดพิธีลงนาม ตามพันธสัญญาน าร่อง

               ระหว่างโรงพยาบาลกับวิสาหกิจชุมชนแปลงใหญ่ ในการจัดซื้อรายการอาหาร ประเภท ข้าวสาร พืชผักและ

               ผลไม้
                        ส่วนการวางแผนการผลิตข้าวได้วางเป้าหมายความต้องการใช้ข้าวส าหรับการผลิต ปี 2561/62

               ภายใต้ตลาดน าการผลิต 30.42 ล้านตันข้าวเปลือก โดยกรมการข้าว ได้ก าหนดแผนการผลิตข้าว ปี 2561/62

               ตามความต้องการใช้ข้าวดังกล่าว 70.42 ล้านไร่ ผลผลิต 33.422 ล้านตันข้าวเปลือก แบ่งเป็น รอบที่ 1 จ านวน

               58.21 ล้านไร่ แยกเป็น ข้าวหอมมะลิ 23.27 ล้านไร่ ข้าวหอมจังหวัด 2.82 ล้านไร่ ข้าวหอมไทย (ข้าวหอม

               ปทุม) 1.03 ล้านไร่ ข้าวเจ้า 14.84 ล้านไร่ (ข้าวเจ้าพื้นนิ่ม 0.74 ล้านไร่ ข้าวเจ้าพื้นแข็ง 14.10 ล้านไร่) ข้าว

               เหนียว 15.78 ล้านไร่ ข้าว กข43 0.12 ล้านไร่ ข้าวอินทรีย์ 0.28 ล้านไร่ และข้าวสี 0.07 ล้านไร่ และ รอบที่ 2
               มีพื้นที่ปลูกข้าว จ านวน 12.61 ล้านไร่ คาดการณ์ผลผลิต 7.86 ล้านตันข้าวเปลือก (กระทรวงเกษตรและ

               สหกรณ์, 2561)

                        ผลของนโยบาย การตลาดน าการผลิตสามารถช่วยวางแผนการผลิตให้กับเกษตรกร สามารถช่วยลด

               ต้นทุนการผลิต อีกทั้งเกษตรกรจะมีตลาดรองรับสินค้าที่แน่นอน ผลผลิตไม่ล้นตลาด เกษตรกรมีรายได้และมี

               ความมั่นคงในอาชีพเกษตรกรรมมากยิ่งขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยซึ่งต้องการหาคุณภาพ พร้อมทั้งความ
               ต้องการที่แท้จริงของผู้บริโภคในกลุ่มเป้าหมาย


                       แนวความคิดของความภักดีของผู้บริโภคและการเปลี่ยนตราสินค้ารวมถึงความสัมพันธ์กับความพึง

               พอใจและวิธีการวัดที่ได้รับชุดรูปแบบกลางของวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับความพึงพอใจของลูกค้าในช่วงหลาย

               ปีที่ผ่านมา




                                                           27
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49