Page 134 -
P. 134
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ตารางที่ 50 แสดงการวิเคราะห์ปัจจัยการยึดติดของตราสินค้า ต่อการสับเปลี่ยนตราสินค้า ของผู้บริโภคชาวจีน
(ต่อ)
ตัวแปรที่ศึกษา แหล่งความ SS df MS F P-
แปรปรวน value
เพื่อนแนะน า ระหว่างกลุ่ม 25.581 4 6.395 10.041 .000
ภายในกลุ่ม 420.364 660 .637
รวม 445.946 664
ราคา ระหว่างกลุ่ม 5.821 4 1.455 1.075 .368
ภายในกลุ่ม 893.568 660 1.354
รวม 899.389 664
โปรโมชั่น ระหว่างกลุ่ม 46.230 4 11.557 14.307 .000
ภายในกลุ่ม 533.169 660 .808
รวม 579.398 664
โฆษณา ระหว่างกลุ่ม 10.885 4 2.721 4.410 .002
ภายในกลุ่ม 407.256 660 .617
รวม 418.141 664
หาซื้อง่าย ระหว่างกลุ่ม 20.994 4 5.248 10.944 .000
ภายในกลุ่ม 316.519 660 .480
รวม 337.513 664
รวม 59.805 4 14.953 50.544 0.041
469.573 660 0.711
529.378 664
ที่มา: จากการส ารวจ 2562
จากตารางที่ 50 ผลการทดสอบสมมติฐานปัจจัยการยึดติดของตราสินค้าที่แตกต่างกัน มีผลต่อการ
สับเปลี่ยนตราสินค้า โดยรวมมีค่า Sig. เท่ากับ .041 ซึ่งน้อยกว่า 0.05 นั่นคือ ปฏิเสธสมมติฐานหลัก (H0)
ยอมรับสมมติฐานรอง (H1) ซึ่งหมายความว่า ปัจจัยการยึดติดของตราสินค้าที่แตกต่างกัน มีผลต่อการ
สับเปลี่ยนตราสินค้า โดยรวมแตกต่างกัน เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า
ด้านปัจจัยยี่ห้อ (ตราสินค้า) มีค่า Sig. เท่ากับ 0.000 ซึ่งน้อยกว่า 0.05 นั่นคือ ปฏิเสธสมมติฐานหลัก
(H0) ยอมรับสมมติฐานรอง (H1) ซึ่งหมายความว่า ปัจจัยยี่ห้อ (ตราสินค้า) มีผลต่อการสับเปลี่ยนตราสินค้า ที่
แตกต่างกัน
ด้านปัจจัยชื่อเสียงของประเทศแหล่งต้นก าเนิด มีค่า Sig. เท่ากับ 0.000 ซึ่งน้อยกว่า 0.05 นั่นคือ
ปฏิเสธสมมติฐานหลัก (H0) ยอมรับสมมติฐานรอง (H1) ซึ่งหมายความว่า ปัจจัยชื่อเสียงของประเทศแหล่งต้น
ก าเนิด มีผลต่อการสับเปลี่ยนตราสินค้า ที่แตกต่างกัน
117