Page 131 -
P. 131

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               ส าหรับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ จะใช้การทดสอบด้วยการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปรสองตัวที่เป็น

               อิสระต่อกัน โดยใช้สถิติค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson Product Moment Correlation

               Coefficient) ใช้ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ ดังนั้นจะปฏิเสธสมมติฐานหลัก (H0) ก็ต่อเมื่อ Sig. (2–tailed) มีค่า

               น้อยกว่า 0.05 ผลการทดสอบสมมติฐานดังตารางที่ 47

               ตารางที่ 47 แสดงการวิเคราะห์ปัจจัยทางด้านการตัดสินใจซื้อที่มีผลต่อความเต็มใจซื้อ


                                                                      ด้านความพึงพอใจซื้อ

                                                       Pearson        Sig.       ทิศทาง        ระดับ
                                                      Correlation  (2- tailed)              ความสัมพันธ์
                 ด้านการตัดสินใจซื้อ                     .470         .000       เดียวกัน     ปานกลาง


               ที่มา: จากการส ารวจ 2562


                       จากตารางที่ 47 แสดงผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางด้านการตัดสินใจซื้อที่มีผลต่อ

               ความเต็มใจซื้อ โดยใช้การวิเคราะห์สถิติค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson Product Moment

               Correlation Coefficient) พบว่าปัจจัยทางด้านการตัดสินใจซื้อที่มีผลต่อความพึงพอใจ มีค่า Sig. เท่ากับ .000
               ซึ่งมีค่าน้อยกว่า .05 นั่นคือปฏิเสธสมมติฐานหลัก (H0) และยอมรับสมมติฐานรอง (H1) หมายความว่า ปัจจัย

               ทางด้านการตัดสินใจซื้อที่มีผลต่อความเต็มใจซื้ออย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .000 ซึ่งสอดคล้องกับ

               สมมติฐานที่ตั้งไว้ โดยมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกัน ในระดับปานกลาง กล่าวคือ เมื่อปัจจัยด้านการ

               ตัดสินใจซื้อ สัมพันธ์ต่อความเต็มใจซื้อนั้นได้มีความส าคัญมากขึ้น จะมีความเต็มใจซื้อเพิ่มขึ้นปานกลาง

               สรุปสมมติฐานที่ 8

                       ปัจจัยทางด้านการตัดสินใจซื้อที่มีผลต่อความเต็มใจซื้อ มีค่า Sig. เท่ากับ .000 ซึ่งมีค่าน้อยกว่า .05
               ปัจจัยทางด้านการตัดสินใจซื้อที่มีผลต่อความเต็มใจซื้ออย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .000 ซึ่งสอดคล้องกับ

               สมมติฐานที่ตั้งไว้ สอดคล้องกับ Xuqi Chen (2016) ที่กล่าวว่าความเต็มใจซื้อมีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจ

               ซื้ออย่างสอดคล้องกัน เมื่อผู้บริโภคเกิดความเต็มใจที่จะซื้อสินค้านั้นๆ ส่งผลบวกต่อการตัดสินใจซื้อสินค้านั้นๆ

               ด้วย



               ปัจจัยทางด้านความพึงพอใจของตราสินค้าต่อความไว้วางใจตราสินค้า
                       สมมติฐานข้อที่ 9 ด้านความพึงพอใจของตราสินค้ามีความสัมพันธ์ต่อความไว้วางใจตราสินค้า

               สามารถเขียนเป็นสมมติฐานทางสถิติได้ดังนี้

               H0: ปัจจัยทางด้านความพึงพอใจของตราสินค้ามีความสัมพันธ์ต่อความไว้วางใจตราสินค้าที่ไม่สอดคล้องกัน

               H1: ปัจจัยทางด้านความพึงพอใจของตราสินค้ามีความสัมพันธ์ต่อความไว้วางใจตราสินค้าที่สอดคล้องกัน





                                                           114
   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136