Page 127 -
P. 127
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ตารางที่ 42 แสดงการวิเคราะห์ปัจจัยทางด้านการรับรู้ทางประสาทสัมผัสข้าวหอมที่มีผลต่อประสบการณ์ทาง
ประสาทสัมผัส
ประสบการณ์ทางประสาทสัมผัส
Pearson Sig. ทิศทาง ระดับ
Correlation (2- tailed) ความสัมพันธ์
ด้านการรับรู้ทางประสาทสัมผัสข้าวหอม -.124 .001 เดียวกัน สูง
ที่มา: จากการส ารวจ 2562
สรุปสมมติฐานที่ 3
จากตารางที่ 42 แสดงผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางด้านการรับรู้ทางประสาทสัมผัส
ข้าวหอมที่มีผลต่อประสบการณ์ทางประสาทสัมผัส โดยใช้การวิเคราะห์สถิติค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบ
เพียร์สัน (Pearson Product Moment Correlation Coefficient) พบว่าปัจจัยทางประสบการณ์ทาง
ประสาทสัมผัส ที่มีผลต่อความพึงพอใจ มีค่า Sig. เท่ากับ .001 ซึ่งมีค่าน้อยกว่า .05 นั่นคือปฏิเสธสมมติฐาน
หลัก (H0) และยอมรับสมมติฐานรอง (H1) หมายความว่า ปัจจัยทางด้านการรับรู้ทางประสาทสัมผัสข้าวหอม
นั้นมีผลต่อความพึงพอใจซื้อ อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .001 ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ โดยมี
ความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกัน ในระดับสูง กล่าวคือ เมื่อปัจจัยด้านการรับรู้ทางประสาทสัมผัสข้าวหอม
สัมพันธ์ต่อประสบการณ์ทางประสาทสัมผัส นั้นได้มีความส าคัญมากขึ้น จะมีความพึงพอใจซื้อเพิ่มขึ้นใน
ระดับสูง
ปัจจัยด้านประสบการณ์ทางประสาทสัมผัสต่อการตัดสินใจซื้อ
สมมติฐานข้อที่ 4 ปัจจัยด้านประสบการณ์ทางประสาทสัมผัส มีผลต่อการตัดสินใจซื้อที่ต่างกัน
สามารถเขียนเป็นสมมติฐานทางสถิติได้ดังนี้
H0: ปัจจัยด้านประสบการณ์ทางประสาทสัมผัสที่แตกต่างกันมีผลต่อการตัดสินใจซื้อที่ไม่แตกต่างกัน
H1: ปัจจัยด้านประสบการณ์ทางประสาทสัมผัสที่แตกต่างกันมีผลต่อการตัดสินใจซื้อที่แตกต่างกัน
ตารางที่ 43 แสดงการวิเคราะห์ปัจจัยด้านประสบการณ์ทางประสาทสัมผัสมีผลต่อการตัดสินใจซื้อ
การตัดสินใจซื้อ
Pearson Sig. ทิศทาง ระดับ
Correlation (2- tailed) ความสัมพันธ์
ประสบการณ์ทางประสาทสัมผัส .330 .000 เดียวกัน สูง
ที่มา: จากการส ารวจ 2562
110