Page 123 -
P. 123

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               แตกต่างทางนัยส าคัญของการรับรู้ทางประสาทสัมผัสกับอายุ เช่น ผู้ใหญ่วัยกลางคน จะแย่กว่าผู้ที่มีอายุน้อย

               กว่าอย่างมีนัยส าคัญ และดีกว่าผู้สูงอายุอย่างมีนัยส าคัญ

                       ปัจจัยด้านระดับการศึกษา ผลจากการวิจัยมีค่า Sig. เท่ากับ 0.078 หมายความว่าปัจจัยส่วนบุคคล

               ของผู้บริโภคชาวกว่างโจว ด้านระดับการศึกษาที่แตกต่างกันมีผลต่อการรับรู้ทางประสาทสัมผัส ไม่แตกต่างกัน
               ไม่สอดคล้องกับ เกศสุดา วุฒิ (2552) ที่พบว่าประชาชนที่มีระดับการศึกษาต่างกันมีผลต่อการรับรู้ ที่แตกต่าง

               กัน อย่างไม่มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05

                       ปัจจัยด้านรายได้ครอบครัว Sig. เท่ากับ 0.057 ผู้บริโภคชาวกว่างโจวที่มีรายได้ต่อเดือนแตกต่างกันมี

               ผลต่อการรับรู้ทางประสาทสัมผัสโดยรวม ไม่แตกต่างกัน ไม่สอดคล้องกับ เกศสุดา วุฒิ (2552) ที่พบว่า

               ประชาชนที่มีรายได้ต่อเดือนต่างกันมีผลต่อการรับรู้ ที่แตกต่างกัน อย่างไม่มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05
               ปัยจัยทางด้านการรับรู้ทางประสาทสัมผัสต่อปัจจัยด้านราคา

                       สมมติฐานที่ 2 การรับรู้ทางประสาทสัมผัสที่แตกต่างกันมีผลต่อปัจจัยด้านราคาที่แตกต่างกันสามารถ

               เขียนเป็นสมมติฐานทางสถิติได้ดังนี้

               H0: ปัจจัยการรับรู้ทางประสาทสัมผัสที่แตกต่างกันมีผลต่อปัจจัยด้านราคาที่ไม่แตกต่างกัน

               H1: ปัจจัยการรับรู้ทางประสาทสัมผัสที่แตกต่างกันมีผลต่อปัจจัยด้านราคาที่แตกต่างกัน

               ตารางที่ 41 แสดงการวิเคราะห์ปัจจัยด้านการรับรู้ทางประสาทสัมผัส มีผลต่อปัจจัยทางราคาของข้าวหอมใน
               กว่างโจว

                                              แหล่งความ     SS        df       MS        F        P-
                        ตัวแปรที่ศึกษา
                                              แปรปรวน                                            value
                 เมื่อท่านเห็นข้าวที่น ามาทดลอง  ระหว่างกลุ่ม   16.601   4     4.150     4.784    .001
                 แล้ว ตรงกับความพอใจของท่าน   ภายในกลุ่ม   572.532     660      .867

                                             รวม          589.134      664
                 ท่านสามารถแยกแยะความ        ระหว่างกลุ่ม   11.678       4     2.920     2.738    .028
                 แตกต่างของข้าวหอมมะลิไทย    ภายในกลุ่ม   703.826      660     1.066

                 กับข้าวหอมอื่นๆ ได้ทันทีที่ท่าน  รวม     715.504      664
                 มองเห็น
                 เมื่อท่านได้เห็นข้าวที่น ามาทดลอง  ระหว่างกลุ่ม   5.428   4   1.357     2.126    .076

                 แล้ว ท่านสามารถตัดสินใจเลือก  ภายในกลุ่ม   421.138    660      .638
                 ได้ทันที                    รวม          426.565      664
                 เมื่อท่านได้ชิมข้าวหอมที่น ามา  ระหว่างกลุ่ม   29.567   4     7.392     7.581    .000
                 ทดลอง ท่านสามารถแยกแยะ      ภายในกลุ่ม   643.537      660      .975

                 ความหลากหลายของรสชาติข้าว   รวม          673.104      664
                 หอมแต่ละชนิดในคราวเดียวกัน







                                                           106
   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128