Page 118 -
P. 118
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
จากตารางที่ 39 ผลการทดสอบสมมติฐานปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคชาวกว่างโจว ด้านระดับ
การศึกษาที่แตกต่างกันมีผลต่อการรับรู้ทางประสาทสัมผัสโดยรวม มีค่า Sig. เท่ากับ .078 ซึ่งมากกว่า 0.05
นั่นคือยอมรับสมมติฐานหลัก (H0) ปฏิเสธสมมติฐานรอง (H1) ซึ่งหมายความว่า ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภค
ชาวกว่างโจว ด้านระดับการศึกษาที่แตกต่างกันมีผลต่อการรับรู้ทางประสาทสัมผัส ไม่แตกต่างกัน เมื่อ
พิจารณารายด้าน พบว่า
เมื่อท่านเห็นข้าวที่น ามาทดลองแล้ว ตรงกับความพอใจ มีค่า Sig. เท่ากับ .265 ซึ่งมากกว่า 0.05 นั่น
คือ ยอมรับสมมติฐานหลัก (H0) ปฏิเสธสมมติฐานรอง (H1) ซึ่งหมายความว่า ผู้บริโภคชาวกว่างโจวที่มีระดับ
การศึกษาแตกต่างกัน เมื่อเห็นข้าวที่น ามาทดลองแล้ว คิดว่าตรงกับความพอใจ ไม่แตกต่างกัน
ด้านความสามารถแยกแยะความแตกต่างของข้าวหอมมะลิไทยกับข้าวหอมอื่นๆได้ทันทีที่มองเห็น มี
ค่า Sig. เท่ากับ .004 ซึ่งน้อยกว่า 0.05 นั่นคือ ปฏิเสธสมมติฐานหลัก (H0) ยอมรับสมมติฐานรอง (H1) ซึ่ง
หมายความว่า ผู้บริโภคชาวกว่างโจวที่มีระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน มีผลต่อการแยกแยะความแตกต่างของ
ข้าวหอมมะลิไทยกับข้าวหอมอื่นๆได้ทันทีที่มองเห็น แตกต่างกัน
ด้านความสามารถแยกแยะความหลากหลายของรสชาติข้าวหอมแต่ละชนิดในคราวเดียวกัน เมื่อได้ชิม
ข้าวหอมที่น ามาทดลอง มีค่า Sig. เท่ากับ .001 ซึ่งน้อยกว่า 0.05 นั่นคือ ปฏิเสธสมมติฐานหลัก (H0) ยอมรับ
สมมติฐานรอง (H1) ซึ่งหมายความว่า ผู้บริโภคชาวกว่างโจวที่มีระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน มีผลต่อการ
แยกแยะความหลากหลายของรสชาติข้าวหอมแต่ละชนิดในคราวเดียวกัน เมื่อได้ชิมข้าวหอมที่น ามาทดลอง
แตกต่างกัน
เมื่อท่านได้ชิมข้าวหอม(มะลิ) ที่น ามาทดลอง ท าให้รู้สึกได้ทันทีว่าเป็น ข้าวหอมมะลิไทย มีค่า Sig.
เท่ากับ .035 ซึ่งน้อยกว่า 0.05 นั่นคือ ปฏิเสธสมมติฐานหลัก (H0) ยอมรับสมมติฐานรอง (H1) ซึ่งหมายความ
ว่า ผู้บริโภคชาวกว่างโจวที่มีระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน มีผลต่อการชิมข้าวหอม(มะลิ)ที่น ามาทดลอง ท าให้
รู้สึกได้ทันทีว่าเป็น ข้าวหอมมะลิไทย แตกต่างกัน
เมื่อได้ชิมข้าวที่น ามาทดลอง สามารถตัดสินใจเลือกได้ทันที มีค่า Sig. เท่ากับ .179 ซึ่งมากกว่า 0.05
นั่นคือ ยอมรับสมมติฐานหลัก (H0) ปฏิเสธสมมติฐานรอง (H1) ซึ่งหมายความว่า ผู้บริโภคชาวกว่างโจวที่มี
ระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน มีผลต่อการชิมข้าวที่น ามาทดลอง แล้วสามารถตัดสินใจเลือกได้ทันที ไม่แตกต่าง
กัน
เมื่อได้ดมกลิ่นข้าวหอมมะลิไทย ท าให้รับรู้ถึงกลิ่นเฉพาะ มีค่า Sig. เท่ากับ .192 ซึ่งมากกว่า 0.05 นั่น
คือ ยอมรับสมมติฐานหลัก (H0) ปฏิเสธสมมติฐานรอง (H1) ซึ่งหมายความว่า ผู้บริโภคชาวกว่างโจวที่มีระดับ
การศึกษาที่แตกต่างกัน มีผลต่อการรับรู้ถึงกลิ่นเฉพาะ เมื่อได้ดมกลิ่นข้าวหอมมะลิไทย ไม่แตกต่างกัน
101