Page 113 -
P. 113
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ยอมรับสมมติฐานหลัก (H0) ปฎิเสธสมมติฐานรอง (H1) ซึ่งหมายความว่า ลักษณะทางสังคมและ
ประชากรศาสตร์ที่มีเพศแตกต่างกันมีผลต่อการรับรู้แยกแยะชนิดข้าวที่น ามาทดลองได้โดยการสัมผัส ไม่
แตกต่างกัน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สอดคล้องกับการศึกษาเมื่อเปรียบเทียบเพศส าหรับการ
ระบุและแยกแยะรูปร่างในปาก (stereognosis ในช่องปาก) และผลของงานวิจัยนั้นไม่แสดงเรื่องอิทธิพลของ
เพศ (Jacobs et al. 1998; Essick et al. 1999)
ในรายที่ได้สัมผัสความนุ่มนวลของข้าวหอมที่น ามาทดลอง ท าให้ตัดสินใจซื้อได้ทันที Levene’s test
for Equality of Variances มีค่า Sig. เท่ากับ 0.389 ซึ่งมากกว่า 0.05 ดังนั้นจะใช้ค่า Equal Variances
assumed ส าหรับค่า t-test กรณีความแปรปรวนเท่ากัน ผลการวิเคราะห์การเปรียบเทียบการสัมผัสความ
นุ่มนวลของข้าวหอมที่น ามาทดลอง ท าให้ตัดสินใจซื้อได้ทันทีจ าแนกตามเพศ พบว่ามีค่า Sig.(2-tailed) เท่ากับ
0.874 ซึ่งมากกว่า 0.05 นั่นคือยอมรับสมมติฐานหลัก (H0) ปฎิเสธสมมติฐานรอง (H1) ซึ่งหมายความว่า
ลักษณะทางสังคมและประชากรศาสตร์ที่มีเพศแตกต่างกันมีผลต่อการสัมผัสความนุ่มนวลของข้าวหอมที่น ามา
ทดลอง แล้วตัดสินใจซื้อได้ทันที ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ปัจจัยด้านอายุ
สมมติฐานข้อที่ 1.2 ปัจจัยด้านอายุมีความสัมพันธ์ต่อการรับรู้ทางประสาทสัมผัสที่ต่างกันสามารถ
เขียนเป็นสมมติฐานทางสถิติได้ดังนี้
H0: ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคชาวกว่างโจว ด้านอายุที่แตกต่างกันมีผลต่อการรับรู้ทางประสาทสัมผัสที่ไม่
แตกต่างกัน
H1: ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคชาวกว่างโจว ด้านอายุที่แตกต่างกันมีผลต่อการรับรู้ทางประสาทสัมผัสที่
แตกต่างกัน
ตารางที่ 38 แสดงการวิเคราะห์ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคชาวกว่างโจว ด้านอายุมีผลต่อการรับรู้ทาง
ประสาทสัมผัส
ตัวแปรที่ศึกษา แหล่งความ SS df MS F P-
แปรปรวน value
เมื่อท่านเห็นข้าวที่น ามาทดลอง ระหว่างกลุ่ม 5.617 4 1.404 1.588 .176
แล้ว ตรงกับความพอใจของท่าน ภายในกลุ่ม 583.517 660 .884
รวม 589.134 664
ท่านสามารถแยกแยะความ ระหว่างกลุ่ม 7.723 4 1.931 1.800 .127
แตกต่างของข้าวหอมมะลิไทย ภายในกลุ่ม 707.781 660 1.072
กับข้าวหอมอื่นๆ ได้ทันทีที่ท่าน รวม 715.504 664
มองเห็น
96