Page 112 -
P. 112

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               สังคมและประชากรศาสตร์ที่มีเพศแตกต่างกันมีผลต่อการรับรู้ทางประสาทสัมผัสเมื่อได้ชิมข้าวหอมที่น ามา

               ทดลอง สามารถแยกแยะความหลากหลายของรสชาติข้าวหอมแต่ละชนิดในคราวเดียวกันได้ ไม่แตกต่างกัน
               อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

                       เมื่อพิจารณารายที่ได้ชิมข้าวหอมที่น ามาทดลอง ท าให้ท่านรู้สึกได้ทันทีว่าเป็น ข้าวหอมมะลิไทย ผล

               การวิเคราะห์การเปรียบเทียบ พบว่ามีค่า Sig.(2-tailed) เท่ากับ 0.757 ซึ่งมากกว่า 0.05 นั่นคือยอมรับ
               สมมติฐานหลัก (H0) ปฎิเสธสมมติฐานรอง (H1) ซึ่งหมายความว่า ลักษณะทางสังคมและประชากรศาสตร์ที่มี

               เพศแตกต่างกันมีผลต่อการรับรู้ทางประสาทสัมผัสชิมข้าวหอมที่น ามาทดลอง ท าให้รู้สึกได้ทันทีว่าเป็น ข้าว
               หอมมะลิไทย ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

                       ในรายที่เมื่อได้ชิมข้าวที่น ามาทดลองท่านสามารถตัดสินใจเลือกได้ทันที Levene’s test for Equality

               of Variances มีค่า Sig. เท่ากับ 0.668 ซึ่งมากกว่า 0.05 ดังนั้นจะใช้ค่า Equal Variances assumed ส าหรับ
               ค่า t-test กรณีความแปรปรวนเท่ากัน ผลการวิเคราะห์การเปรียบเทียบการชิมข้าวที่น ามาทดลอง สามารถ

               ตัดสินใจเลือกได้ทันที จ าแนกตามเพศ พบว่ามีค่า Sig.(2-tailed) เท่ากับ 0.945 ซึ่งมากกว่า 0.05 นั่นคือ
               ยอมรับสมมติฐานหลัก (H0) ปฎิเสธสมมติฐานรอง (H1) ซึ่งหมายความว่า ลักษณะทางสังคมและ

               ประชากรศาสตร์ที่มีเพศแตกต่างกันมีผลต่อการรับรู้ทางประสาทสัมผัสเมื่อได้ชิมข้าวที่น ามาทดลอง ท่าน

               สามารถตัดสินใจเลือกได้ทันที ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
                       ในรายที่เมื่อได้ดมกลิ่นข้าวท่านรับรู้ได้ถึงความหอม Levene’s test for Equality of Variances มี

               ค่า Sig. เท่ากับ 0.309 ซึ่งมากกว่า 0.05 ดังนั้นจะใช้ค่า Equal Variances assumed ส าหรับค่า t-test กรณี

               ความแปรปรวนเท่ากัน ผลการวิเคราะห์การเปรียบเทียบการดมกลิ่นข้าว แล้วรับรู้ได้ถึงความหอม จ าแนกตาม
               เพศ พบว่ามีค่า Sig.(2-tailed) เท่ากับ 0.392 ซึ่งมากกว่า 0.05 นั่นคือยอมรับสมมติฐานหลัก (H0) ปฎิเสธสม

               มติฐานรอง (H1) ซึ่งหมายความว่า ลักษณะทางสังคมและประชากรศาสตร์ที่มีเพศแตกต่างกันมีผลต่อการรับรู้
               ทางประสาทสัมผัสเมื่อได้ดมกลิ่นข้าว แล้วรับรู้ได้ถึงความหอม ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ

               0.05

                       พิจารณาในผู้ร่วมทดลอง เมื่อได้ดมข้าวที่น ามาทดลอง สามารถตัดสินใจเลือกได้ทันที Levene’s test
               for Equality of Variances มีค่า Sig. เท่ากับ 0.579 ซึ่งมากกว่า 0.05 ดังนั้นจะใช้ค่า Equal Variances

               assumed ส าหรับค่า t-test กรณีความแปรปรวนเท่ากัน ผลการวิเคราะห์การเปรียบเทียบการดมข้าวที่น ามา
               ทดลอง สามารถตัดสินใจเลือกได้ทันที จ าแนกตามเพศ พบว่ามีค่า Sig.(2-tailed) เท่ากับ 0.428 ซึ่งมากกว่า

               0.05 นั่นคือยอมรับสมมติฐานหลัก (H0) ปฎิเสธสมมติฐานรอง (H1) ซึ่งหมายความว่า ลักษณะทางสังคมและ

               ประชากรศาสตร์ที่มีเพศแตกต่างกันมีผลต่อการรับรู้ทางประสาทสัมผัสเมื่อได้ดมข้าวที่น ามาทดลอง สามารถ
               ตัดสินใจเลือกได้ทันที ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

                       ในรายที่สามารถแยกแยะชนิดข้าวที่น ามาทดลองได้โดยการสัมผัส Levene’s test for Equality of

               Variances มีค่า Sig. เท่ากับ 0.734 ซึ่งมากกว่า 0.05 ดังนั้นจะใช้ค่า Equal Variances assumed ส าหรับค่า
               t-test กรณีความแปรปรวนเท่ากัน ผลการวิเคราะห์การเปรียบเทียบความสามารถแยกแยะชนิดข้าวที่น ามา

               ทดลองได้โดยการสัมผัส จ าแนกตามเพศ พบว่ามีค่า Sig.(2-tailed) เท่ากับ 0.588 ซึ่งมากกว่า 0.05 นั่นคือ



                                                           95
   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117