Page 115 -
P. 115

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                       จากตารางที่ 38 ผลการทดสอบสมมติฐานปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคชาวกว่างโจว ด้านอายุที่

               แตกต่างกัน มีผลต่อมีผลต่อการรับรู้ทางประสาทสัมผัสโดยรวมมีค่า Sig. เท่ากับ .170 ซึ่งมากกว่า 0.05 นั่นคือ
               ยอมรับสมมติฐานหลัก (H0) ปฏิเสธสมมติฐานรอง (H1) ซึ่งหมายความว่า ผู้บริโภคชาวกว่างโจว ที่มีอายุ

               แตกต่างกัน มีผลต่อมีผลต่อการรับรู้ทางประสาทสัมผัสโดยรวม ที่ไม่แตกต่างกัน เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า

                       ด้านการเห็นข้าวที่น ามาทดลองแล้วตรงกับความพอใจของท่านมีค่า Sig. เท่ากับ .176 ซึ่งมากกว่า
               0.05 นั่นคือ ยอมรับสมมติฐานหลัก (H0) ปฏิเสธสมมติฐานรอง (H1) ซึ่งหมายความว่า ผู้บริโภคชาวกว่างโจว

               ที่มีอายุแตกต่างกันมีการเห็นข้าวที่น ามาทดลองแล้ว ตรงกับความพอใจนั้น ไม่แตกต่างกัน
                       ด้านความสามารถแยกแยะความแตกต่างของข้าวหอมมะลิไทยกับข้าวหอมอื่นๆ ได้ทันทีที่มองเห็น มี

               ค่า Sig. เท่ากับ .127 ซึ่งมากกว่า 0.05 นั่นคือ ยอมรับสมมติฐานหลัก (H0) ปฏิเสธสมมติฐานรอง (H1) ซึ่ง

               หมายความว่า ผู้บริโภคชาวกว่างโจว ที่มีอายุแตกต่างกันมีความสามารถแยกแยะความแตกต่างของข้าวหอม
               มะลิไทยกับข้าวหอมอื่นๆ ได้ทันทีที่มองเห็น ไม่แตกต่างกัน

                       ในส่วนที่เมื่อผู้บริโภคเห็นข้าวที่น ามาทดลองแล้ว สามารถตัดสินใจเลือกได้ทันที มีค่า Sig. เท่ากับ .003
               ซึ่งน้อยกว่า 0.05 นั่นคือ ปฏิเสธสมมติฐานหลัก (H0) ยอมรับสมมติฐานรอง (H1) ซึ่งหมายความว่า ผู้บริโภค

               ชาวกว่างโจวที่มีอายุแตกต่างกัน สามารถตัดสินใจเลือกได้ทันทีเมื่อเห็นข้าวที่น ามาทดลอง ที่แตกต่างกัน

                       ด้านความสามารถแยกแยะความหลากหลายของรสชาติข้าวหอมแต่ละชนิดในคราวเดียวกันได้ เมื่อได้
               ชิมข้าวหอมที่น ามาทดลอง มีค่า Sig. เท่ากับ .101 ซึ่งมากกว่า 0.05 นั่นคือ ยอมรับสมมติฐานหลัก (H0)

               ปฏิเสธสมมติฐานรอง (H1) ซึ่งหมายความว่า ผู้บริโภคชาวกว่างโจวที่มีอายุแตกต่างกัน มีความสามารถ

               แยกแยะความหลากหลายของรสชาติข้าวหอมแต่ละชนิดในคราวเดียวกันได้ เมื่อได้ชิมข้าวหอมที่น ามาทดลอง
               ไม่แตกต่างกัน

                       ด้านความสามารถในการชิมข้าวหอมที่น ามาทดลอง ท าให้รู้สึกได้ทันทีว่าเป็น ข้าวหอมมะลิไทย มีค่า
               Sig. เท่ากับ .188 ซึ่งมากกว่า 0.05 นั่นคือ ยอมรับสมมติฐานหลัก (H0) ปฏิเสธสมมติฐานรอง (H1) ซึ่ง

               หมายความว่า ผู้บริโภคชาวกว่างโจวที่มีอายุแตกต่างกัน มีความสามารถในการชิมข้าวหอมที่น ามาทดลอง ท า

               ให้รู้สึกได้ทันทีว่าเป็นข้าวหอมมะลิไทย ไม่แตกต่างกัน
                       ด้านความสามารถตัดสินใจเลือกได้ทันที เมื่อได้ชิมข้าวที่น ามาทดลอง มีค่า Sig. เท่ากับ 0.343 ซึ่ง

               มากกว่า 0.05 นั่นคือ ยอมรับสมมติฐานหลัก (H0) ปฏิเสธสมมติฐานรอง (H1) ซึ่งหมายความว่า ผู้บริโภคชาว
               กว่างโจวที่มีอายุแตกต่างกัน มีความสามารถความสามารถตัดสินใจเลือกได้ทันที เมื่อได้ชิมข้าวที่น ามาทดลอง

               ไม่แตกต่างกัน

                       เมื่อดมกลิ่นข้าว แล้วรับรู้ได้ถึงความหอมมีค่า Sig. เท่ากับ .283 ซึ่งมากกว่า 0.05 นั่นคือ ยอมรับ
               สมมติฐานหลัก (H0) ปฏิเสธสมมติฐานรอง (H1) ซึ่งหมายความว่า ผู้บริโภคชาวกว่างโจวที่มีอายุแตกต่างกัน

               สามารถรับรู้ได้ถึงความหอมของข้าวที่น ามาทดลอง ไม่แตกต่างกัน








                                                           98
   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120