Page 109 -
P. 109
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
H1: ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคชาวกว่างโจว ด้านเพศที่แตกต่างกันมีผลต่อการรับรู้ทางประสาทสัมผัสที่
แตกต่างกัน
ส าหรับสถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน จะใช้เปรียบเทียบระหว่างค่าคะแนนเฉลี่ยของกลุ่ม
ประชากร 2 กลุ่ม ที่เป็นอิสระต่อกัน (Independent Sample t-test) ใช้ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ดังนั้น
จะปฏิเสธสมมติฐานหลัก (H0) ก็ต่อเมื่อค่าระดับนัยส าคัญทางสถิติมีค่าน้อยกว่า 0.05 ผลการทดสอบมี
ความสัมพันธ์กันอย่างไม่มีนัยส าคัญทางสถิติ สมมติฐานแสดงดังตารางที่ 37
ตารางที่ 37 แสดงการวิเคราะห์ลักษณะทางสังคมและประชากรศาสตร์มีผลต่อการรับรู้ทางประสาทสัมผัส
Levene's
Test for t-test for Equality of Means
Equality of
เพศ Variances
F Sig. t df Sig. Mean Std.
(2- Differ Error
tailed) ence Differ
ence
เมื่อท่านเห็นข้าวที่น ามา ชาย .334 .56 -1.092 663 .275 -.085 .078
ทดลองแล้ว ตรงกับความ 3
พอใจของท่าน หญิง -1.081 419.52 .280 -.085 .079
1
ท่านสามารถแยกแยะ ชาย .015 .90 -.672 663 .502 -.058 .086
ความแตกต่างของข้าว 3
หอมมะลิไทย กับข้าวหอม หญิง -.669 424.31 .504 -.058 .086
อื่นๆ ได้ทันทีที่ท่าน 0
มองเห็น
เมื่อท่านได้เห็นข้าวที่น ามา ชาย .185 .66 -1.007 663 .314 -.067 .066
ทดลองแล้ว ท่านสามารถ 7
ตัดสินใจเลือกได้ทันที หญิง -1.011 434.62 .313 -.067 .066
0
เมื่อท่านได้ชิมข้าวหอมที่ ชาย .155 .69 .956 663 .339 .080 .083
น ามาทดลอง ท่านสามารถ 4
แยกแยะความหลากหลาย หญิง .948 421.73 .343 .080 .084
ของรสชาติข้าวหอมแต่ละ 4
ชนิดในคราวเดียวกัน
92