Page 122 -
P. 122

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               เดือนแตกต่างกัน  มีผลต่อการรับรู้ได้ถึงความหอม เมื่อได้ดมกลิ่นข้าว สอดคล้องกับการศึกษาคุณลักษณะกลิ่น

               หอมหลายอย่างในข้าวหุงสุก (Yau & Liu, 1999)

                       เมื่อได้ดมกลิ่นข้าวหอมมะลิไทย ท าให้รับรู้ถึงกลิ่นเฉพาะ มีค่า Sig. เท่ากับ 0.016 ซึ่งน้อยกว่า 0.05

               นั่นคือ ปฏิเสธสมมติฐานหลัก (H0) ยอมรับสมมติฐานรอง (H1) ซึ่งหมายความว่า ผู้บริโภคชาวกว่างโจวที่มี
               รายได้ต่อเดือนแตกต่างกัน  มีผลต่อการรับรู้ถึงกลิ่นเฉพาะ เมื่อได้ดมกลิ่นข้าวหอมมะลิไทย แตกต่างกัน

                       เมื่อได้ดมข้าวที่น ามาทดลอง แล้วสามารถตัดสินใจเลือกได้ทันที มีค่า Sig. เท่ากับ 0.000 ซึ่งน้อยกว่า

               0.05 นั่นคือ ปฏิเสธสมมติฐานหลัก (H0) ยอมรับสมมติฐานรอง (H1) ซึ่งหมายความว่า ผู้บริโภคชาวกว่างโจว

               ที่มีรายได้ต่อเดือนแตกต่างกัน  มีผลต่อการตัดสินใจเลือกได้ทันที เมื่อได้ดมกลิ่นข้าวที่น ามาทดลอง สอดคล้อง

               กับปัจจัยเรื่องกลิ่นหอมถือเป็นคุณสมบัติที่ส าคัญของข้าวที่บ่งบอกถึงคุณภาพและราคาสูงในตลาด (Paule &
               Powers, 1989; Ishitani & Fushimi, 1994)


                       ด้านความสามารถแยกแยะชนิดข้าวที่น ามาทดลองได้ โดยการสัมผัส มีค่า Sig. เท่ากับ 0.001 ซึ่งน้อย
               กว่า 0.05 นั่นคือ ปฏิเสธสมมติฐานหลัก (H0) ยอมรับสมมติฐานรอง (H1) ซึ่งหมายความว่า ผู้บริโภคชาวกว่าง

               โจวที่มีรายได้ต่อเดือนแตกต่างกัน  มีผลต่อความสามารถแยกแยะชนิดข้าวที่น ามาทดลองได้ โดยการสัมผัส

               แตกต่างกัน

                       ด้านสัมผัสความนุ่มนวลของข้าวหอมที่น ามาทดลอง ท าให้ตัดสินใจซื้อได้ทันทีมีค่า Sig. เท่ากับ 0.029
               ซึ่งน้อยกว่า 0.05 นั่นคือ ปฏิเสธสมมติฐานหลัก (H0) ยอมรับสมมติฐานรอง (H1) ซึ่งหมายความว่า ผู้บริโภค

               ชาวกว่างโจวที่มีรายได้ต่อเดือนแตกต่างกัน  มีผลต่อการตัดสินใจซื้อได้ทันที เมื่อผู้บริโภคสัมผัสความนุ่มนวล

               ของข้าวหอมที่น ามาทดลอง แตกต่างกัน




               สรุปสมมติฐานที่ 1 ปัจจัยทางสังคมและประชากรศาสตร์ที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อการรับรู้ทางประสาทสัมผัสที่

               แตกต่างกัน

                       จากผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ปัจจัยทางสังคมและประชากรศาสตร์ที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อการ

               รับรู้ทางประสาทสัมผัสของผู้บริโภคชาวกว่างโจว ที่ไม่แตกต่างกัน


                        โดยปัจจัยส่วนบุคคลในด้าน เพศ มีค่า Sig. เท่ากับ 0.575 ไม่ส่งผลต่อการรับรู้ทางประสาทสัมผัส

               สอดคล้องกับ James et al. (1997) ตรวจสอบความแตกต่างในการรับรู้รสชาติโดยการวัดเกณฑ์การรับรส

               พื้นฐานระหว่างเพศ การศึกษาของพวกเขาสรุปว่าไม่มีความแตกต่างในการรับรู้ของนักชิมทุกคนระหว่างชาย

               และหญิง ต่อความแตกต่างในการรับรู้รสสัมผัส

                       ปัจจัยด้าน อายุ มีค่า Sig. เท่ากับ 0.170 ผู้บริโภคชาวกว่างโจวที่มีอายุแตกต่างกัน มีผลต่อการรับรู้

               ทางประสาทสัมผัสโดยรวม ที่ไม่แตกต่างกัน ไม่สอดคล้องกับ Larry E. Humesa. (2014) ที่แสดงความ




                                                           105
   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127