Page 124 -
P. 124
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ตารางที่ 41 แสดงการวิเคราะห์ปัจจัยด้านการรับรู้ทางประสาทสัมผัส มีผลต่อปัจจัยทางราคาของข้าวหอมใน
กว่างโจว (ต่อ)
แหล่งความ SS df MS F P-
ตัวแปรที่ศึกษา แปรปรวน value
เมื่อท่านได้ชิมข้าวหอม(มะลิ) ที่ ระหว่างกลุ่ม 30.771 4 7.693 6.615 .000
น ามาทดลอง ท าให้ท่านรู้สึกได้ ภายในกลุ่ม 767.476 660 1.163
ทันทีว่าเป็น ข้าวหอมมะลิไทย รวม 798.247 664
เมื่อท่านได้ชิมข้าวที่น ามาทดลอง ระหว่างกลุ่ม 16.744 4 4.186 5.550 .000
ท่านสามารถตัดสินใจเลือกได้ทันที ภายในกลุ่ม 497.797 660 .754
รวม 514.541 664
เมื่อท่านได้ดมกลิ่นข้าว ท่านรับรู้ ระหว่างกลุ่ม 7.122 4 1.780 3.260 .012
ได้ถึงความหอม ภายในกลุ่ม 360.496 660 .546
รวม 367.618 664
เมื่อท่านได้ดมกลิ่นข้าวหอมมะลิ ระหว่างกลุ่ม 5.572 4 1.393 1.321 .260
ไทย ท าให้ท่านรับรู้ถึงกลิ่นเฉพาะ ภายในกลุ่ม 695.790 660 1.054
รวม 701.362 664
เมื่อท่านได้ดมข้าวที่น ามาทดลอง ระหว่างกลุ่ม 9.919 4 2.480 2.182 .069
ท่านสามารถตัดสินใจเลือกได้ทันที ภายในกลุ่ม 749.930 660 1.136
รวม 759.850 664
ท่านสามารถแยกแยะชนิดข้าวที่ ระหว่างกลุ่ม 7.864 4 1.966 1.748 .138
น ามาทดลองได้โดยการสัมผัส ภายในกลุ่ม 742.112 660 1.124
รวม 749.976 664
การได้สัมผัสความนุ่มนวลของข้าว ระหว่างกลุ่ม 4.449 4 1.112 1.336 .255
หอมที่น ามาทดลอง ท าให้ท่าน ภายในกลุ่ม 549.485 660 .833
ตัดสินใจซื้อได้ทันที รวม 553.934 664
รวม 13.247 4 3.312 3.567 0.076
610.180 660 0.923
623.427 664
ที่มา: จากการส ารวจ 2562
จากตารางที่ 41 ผลการทดสอบสมมติฐานการรับรู้ทางประสาทสัมผัสที่แตกต่างกัน มีผลต่อปัจจัยด้าน
ราคาโดยรวมมีค่า Sig. เท่ากับ .076 ซึ่งมากกว่า 0.05 นั่นคือยอมรับสมมติฐานหลัก (H0) ปฏิเสธสมมติฐานรอง
(H1) ซึ่งหมายความว่า การรับรู้ทางประสาทสัมผัสที่แตกต่างกัน มีผลต่อปัจจัยด้านราคาโดยรวม ไม่แตกต่าง
กัน เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า
การรับรู้ทางประสาทสัมผัสเมื่อเห็นข้าวที่น ามาทดลองแล้ว แล้วตรงกับความพอใจ มีผลต่อปัจจัยด้าน
ราคา มีค่า Sig. เท่ากับ .001 ซึ่งน้อยกว่า 0.05 นั่นคือ ปฏิเสธสมมติฐานหลัก (H0) ยอมรับสมมติฐานรอง (H1)
107