Page 121 -
P. 121

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                       จากตารางที่ 40 ผลการทดสอบสมมติฐานปัจจัยส่วนบุคคลผู้บริโภคชาวกว่างโจว ด้านรายได้ต่อเดือน

               แตกต่างกันมีผลต่อการรับรู้ทางประสาทสัมผัสโดยรวม มีค่า Sig. เท่ากับ .057 ซึ่งมากกว่า 0.05 นั่นคือยอมรับ

               สมมติฐานหลัก (H0) ปฏิเสธสมมติฐานรอง (H1) ซึ่งหมายความว่า ผู้บริโภคชาวกว่างโจวที่มีรายได้ต่อเดือน

               แตกต่างกันมีผลต่อการรับรู้ทางประสาทสัมผัสโดยรวม ไม่แตกต่างกัน เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า
                       เมื่อท่านเห็นข้าวที่น ามาทดลองแล้ว ตรงกับความพอใจ มีค่า Sig. เท่ากับ 0.129 ซึ่งมากกว่า 0.05 นั่น

               คือ ยอมรับสมมติฐานหลัก (H0) ปฏิเสธสมมติฐานรอง (H1) ซึ่งหมายความว่า ผู้บริโภคชาวกว่างโจวที่มีรายได้

               ต่อเดือนแตกต่างกัน มีผลต่อการรับรู้เมื่อเห็นข้าวที่น ามาทดลองแล้ว แล้วตรงกับความพอใจ ไม่แตกต่างกัน

                       ด้านความสามารถแยกแยะความแตกต่างของข้าวหอมมะลิไทยกับข้าวหอมอื่นๆ ได้ทันทีที่มองเห็น มี

               ค่า Sig. เท่ากับ 0.256 ซึ่งมากกว่า 0.05 นั่นคือ ยอมรับสมมติฐานหลัก (H0) ปฏิเสธสมมติฐานรอง (H1) ซึ่ง
               หมายความว่า ผู้บริโภคชาวกว่างโจวที่มีรายได้ต่อเดือนแตกต่างกัน มีผลต่อความสามารถแยกแยะความ

               แตกต่างของข้าวหอมมะลิไทยกับข้าวหอมอื่นๆ ได้ทันทีที่มองเห็น ไม่แตกต่างกัน

                       เมื่อได้เห็นข้าวที่น ามาทดลองแล้ว แล้วสามารถตัดสินใจเลือกได้ทันทีมีค่า Sig. เท่ากับ 0.002 ซึ่งน้อย

               กว่า 0.05 นั่นคือ ปฏิเสธสมมติฐานหลัก (H0) ยอมรับสมมติฐานรอง (H1) ซึ่งหมายความว่า ผู้บริโภคชาวกว่าง

               โจวที่มีรายได้ต่อเดือนแตกต่างกัน  มีผลต่อการตัดสินใจเลือกได้ทันที เมื่อได้เห็นข้าวที่น ามาทดลองแล้ว

               แตกต่างกัน
                       เมื่อได้ชิมข้าวหอมที่น ามาทดลอง สามารถแยกแยะความหลากหลายของรสชาติข้าวหอมแต่ละชนิดใน

               คราวเดียวกัน มีค่า Sig. เท่ากับ 0.144 ซึ่งมากกว่า 0.05 นั่นคือ ยอมรับสมมติฐานหลัก (H0) ปฏิเสธสมมติ

               ฐานรอง (H1) ซึ่งหมายความว่า ผู้บริโภคชาวกว่างโจวที่มีรายได้ต่อเดือนแตกต่างกัน มีผลต่อความสามารถใน

               การแยกแยะความหลากหลายของรสชาติข้าวหอมแต่ละชนิดในคราวเดียวกัน เมื่อได้ชิมข้าวหอมที่น ามา

               ทดลอง ไม่แตกต่างกัน

                       เมื่อท่านได้ชิมข้าวที่น ามาทดลอง ท่านสามารถตัดสินใจเลือกได้ทันทีว่าเป็นข้าวหอมมะลิไทย มีค่า Sig.
               เท่ากับ 0.059 ซึ่งมากกว่า 0.05 นั่นคือ ยอมรับสมมติฐานหลัก (H0) ปฏิเสธสมมติฐานรอง (H1) ซึ่งหมายความ

               ว่า ผู้บริโภคชาวกว่างโจวที่มีรายได้ต่อเดือนแตกต่างกัน มีผลต่อการชิมข้าวหอมที่น ามาทดลองแล้วท าให้รู้สึกได้

               ทันทีว่าเป็นข้าวหอมมะลิไทย มีผลไม่แตกต่างกัน

                       เมื่อได้ชิมข้าวที่น ามาทดลอง สามารถตัดสินใจเลือกได้ทันที มีค่า Sig. เท่ากับ 0.000 ซึ่งน้อยกว่า 0.05

               นั่นคือ ปฏิเสธสมมติฐานหลัก (H0) ยอมรับสมมติฐานรอง (H1) ซึ่งหมายความว่า ผู้บริโภคชาวกว่างโจวที่มี
               รายได้ต่อเดือนแตกต่างกัน มีผลต่อการตัดสินใจเลือกได้ทันที เมื่อได้เห็นข้าวที่น ามาทดลองแล้ว แตกต่างกัน

                       เมื่อได้ดมกลิ่นข้าว สามารถรับรู้ได้ถึงความหอม มีค่า Sig. เท่ากับ 0.000 ซึ่งน้อยกว่า 0.05 นั่นคือ

               ปฏิเสธสมมติฐานหลัก (H0) ยอมรับสมมติฐานรอง (H1) ซึ่งหมายความว่า ผู้บริโภคชาวกว่างโจวที่มีรายได้ต่อ








                                                           104
   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126