Page 82 -
P. 82

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์





                     3.2 ด้านกลสัทศาสตร์: ความเข้มข้นของเสียงหรือความดัง ผลการศึกษา มีดังนี้

            ตารางที่ 2 แสดงค่าความเข้มข้นของเสียง (intensity) ของท�านองมคธและสังโยค

             ความเข้มข้นของเสียง (intensity)    ค่าเฉลี่ย (mean)   ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)

             ท�านองมคธ                          74.91 db.          11.40 db.
             ท�านองสังโยค                       70.59 db.          4.91 db.

















                 ภาพที่ 6 ความเข้มข้นของเสียงหรือความดัง ในท�านองมคธ (ซ้าย) และท�านองสังโยค (ขวา)

                     จากตารางที่ 2 และภาพที่ 6 แสดงให้เห็นว่า ทั้งสองท�านองมีความคงที่สม�่าเสมอของความเข้ม
            ข้นของเสียงที่ต่อเนื่อง โดยมีค่าเบี่ยงเบน S.D. = 11.40 db. และ 4.91 db. ของท�านองมคธและสังโยค

            ตามล�าดับ  ชี้ให้เห็นว่า  ในแต่ละท�านองมีการรักษาระดับความเข้มข้นของเสียงหรือความดังให้คงที่ระดับเดียว
            โดยตลอด (mono-intensity หรือ mono-amplitude) โดยคณะที่สวดท�านองมคธมีค่าเฉลี่ยความเข้มข้น

            ของเสียง (mean intensity) 74.91 db. สูงกว่าคณะที่สวดท�านองสังโยคซึ่งมีค่าเฉลี่ย (mean intensity)
            70.59 db. แต่เนื่องจากเป็นคณะสงฆ์ต่างคณะ จึงไม่อาจกล่าวได้ว่าในภาพรวมการสวดท�านองมคธจะสวด

            เสียงดังกว่าท�านองสังโยคซึ่งเป็นเรื่องที่จะต้องศึกษาต่อไป

                     3.3 ด้านกลสัทศาสตร์: ความยาวนานของเสียง

                     หลังจากแยกพยางค์ตามโครงสร้างโดยอาศัยขอบเขตตามที่อธิบายไว้ก่อนหน้านี้  และน�าความ
            ยาวนานของเสียงแต่ละพยางค์มาหาค่าเฉลี่ย  (mean)  และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน  (S.D.)  แล้ว  แสดง

            รายละเอียดโดยมีค่าตัวเลขเป็นวินาที (sec.) โดยที่ C = พยัญชนะ, V = สระ ดังนี้

















           74   วารสารมนุษยศาสตร์  ปีที่ 18 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2554
   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87