Page 81 -
P. 81

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์





              3.ผลการวิจัย

                       3.1 ด้านกลสัทศาสตร์: ระดับเสียงสูงต�่า (pitch) ผลการศึกษา มีดังนี้

              ตารางที่ 1 แสดงค่าความถี่มูลฐานหรือระดับเสียงของท�านองมคธและสังโยค

               ระดับเสียงสูงต�่า (Pitch)    ค่าเฉลี่ย (mean)       ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)

               ท�านองมคธ                    131.07 Hz.             15.04 Hz.

               ท�านองสังโยค                 144.58 Hz.             8.85 Hz.

















                           ภาพที่ 5 ระดับเสียงสูงต�่าในท�านองมคธ (ซ้าย) และท�านองสังโยค (ขวา)

                       จากตารางที่ 1 และภาพที่ 5 แสดงให้เห็นว่า ทั้งสองท�านองมีความคงที่สม�่าเสมอของความถี่
              มูลฐาน หรือระดับเสียงสูงต�่าต่อเนื่อง โดยมีค่าเบี่ยงเบน S.D. = 15.04 Hz. และ 8.85 Hz. ของท�านองมคธ

              และสังโยคตามล�าดับ ชี้ให้เห็นว่า ในแต่ละท�านองมีการรักษาระดับเสียงให้คงที่สม�่าเสมอเป็นระดับเสียงเดียว
              โดยตลอด โดยคณะสงฆ์ที่สวดท�านองมคธมีค่าเฉลี่ยระดับเสียง (mean F0) 131.07 Hz. ต�่ากว่าคณะที่สวด

              ท�านองสังโยคซึ่งมีค่าเฉลี่ย (mean F0) 144.58 Hz. แต่เนื่องจากเป็นคณะสงฆ์ต่างคณะ จึงไม่อาจกล่าวได้ว่า
              ในภาพรวมการสวดท�านองมคธจะใช้ระดับเสียงโดยเฉลี่ยต�่ากว่าท�านองสังโยคซึ่งเป็นเรื่องที่ต้องศึกษาต่อไป

              ส�าหรับค่าที่แตกต่างอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ .05 แต่ละท�านอง สังเกตว่ามีระดับเสียงสูงขึ้น ในพยางค์ที่
              ผันวรรณยุกต์เสียงจัตวา (rising tone) ในภาษาไทย โดยในท�านองสังโยคจะสวดเสียงสูงขึ้นช่วงท้ายพยางค์

              ในลักษณะเสียงขึ้น (rising tone) คล้ายออกเสียงจัตวา แต่ท�านองมคธจะสวดสูงขึ้นช่วงต้นถึงกลางพยางค์
              ในลักษณะเสียงตก (falling tone) คล้ายออกเสียงวรรณยุกต์โท ซึ่งรายละเอียดของความแตกต่างในจุด

              เหล่านี้เป็นเรื่องที่จะต้องศึกษาต่อไปเช่นกัน















                                                          วารสารมนุษยศาสตร์  ปีที่ 18 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2554  73
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86