Page 77 -
P. 77

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์





                       1.พยางค์เน้นขวาสุดในกลุ่ม 2.พยางค์เน้นซ้ายสุดในกลุ่ม 3.ไม่มีการแตกแขนงของกลุ่มพยางค์

                                                                      
                            /       |             |      \              |

                                                                    

                  ภาพที่ 1 แผนภูมิแสดงทิศทางของพยางค์เน้นทั้งที่มีการแตกแขนงและไม่แตกแขนงกลุ่มพยางค์

                                                                 W
                                    /             /              |

                                                               
                                    |      /      |      /       |

                       พจนานุกรม =  พด     จะ     นา     นุ     กรม

                      ภาพที่ 2 แผนภูมิแสดงโครงสร้างการเน้นพยางค์ตั้งแต่ระดับกลุ่มพยางค์จนถึงระดับค�า
              ที่มา: ดัดแปลงจาก อภิลักษณ์ ธรรมทวีธิกุล (2547: 112)


                       จากภาพที่ 2 ยกตัวอย่างการวิเคราะห์ได้จากค�าว่า “พจนานุกรม” โดยในระดับกลุ่มพยางค์ ()
              พยางค์เน้นจะอยู่ขวาสุดในกลุ่ม ในระดับค�า(W)พยางค์เน้นจะอยู่ขวาสุดในกลุ่มเช่นกัน จึงสรุปได้ว่าพยางค์

              เน้นจะอยู่ขวาสุด (Right – Head)ในทุกระดับ พยางค์ที่ถูกยึดโดยกิ่งหนักหรือเส้นตรง (|) ตั้งแต่ระดับ
              กลุ่มพยางค์ () จนถึงระดับค�า (W) คือ “กรม” จะเป็นพยางค์เน้นที่เด่นที่สุด (primary stress) พยางค์

              ที่ถูกยึดโดยกิ่งเบาหรือเส้นเฉียง  (/)  ในระดับค�า(W)  แต่ถูกยึดโดยกิ่งหนักในระดับกลุ่มพยางค์  ()  คือ
              “พด” และ “นา” เป็นพยางค์เน้นที่รองลงมา (secondary stress) และพยางค์ที่ถูกยึดโดยกิ่งเบาทุกระดับ

              คือ “จะ” และ “นุ” จะเป็นพยางค์ไม่เน้น

                       นอกจากนี้ จะสังเกตได้ว่า การจัดพยางค์เน้นในค�าว่า “พจนานุกรม” สัมพันธ์กับน�้าหนักพยางค์
              (syllable weight) ด้วย โดยทั่วไปแล้วภาษาต่างๆ จะจัดให้พยางค์โครงสร้าง c(c)v เป็นพยางค์เบา ส่วน

              c(c)vv, c(c)vc, c(c)vvc เป็นพยางค์หนัก (โดยที่ c= พยัญชนะ, v= สระ) (อภิลักษณ์ ธรรมทวีธิกุล,
              2540: 26) พยางค์ในโครงสร้าง cv คือ “จะ” และ “นุ” ซึ่งเป็นพยางค์เบาได้กลายเป็นพยางค์ไม่เน้น ส่วน

              โครงสร้าง cvc คือ “พด”, cvv คือ “นา” และ ccvc คือ “กรม” ซึ่งเป็นพยางค์หนักกลายเป็นพยางค์
              เน้นในระดับต่างๆ นั่นหมายความว่า พยางค์ใดเน้นหรือไม่ ยังสามารถคาดคะเนได้จากน�้าหนักพยางค์ที่

              วิเคราะห์จากโครงสร้างพยางค์เป็นเกณฑ์ (อภิลักษณ์ ธรรมทวีธิกุล, 2547: 104) รวมทั้งจากความสอดคล้อง
              ของคุณสมบัติทางกลสัทศาสตร์ ซึ่งปกติแล้วพยางค์เน้นจะเป็นพยางค์ที่มีระดับเสียงที่สูงหรือต�่ากว่า มีความดัง

              มากกว่าและมีความยาวของพยางค์มากกว่าพยางค์รอบข้าง (อภิลักษณ์ ธรรมทวิธิกุล, 2549: 67) ซึ่งการจัดใน
              ลักษณะนี้จะท�าให้สามารถอธิบายและคาดคะเนกฏเกณฑ์ของภาษาต่างๆ  ได้ว่ามีการเน้นพยางค์ไปในรูป




                                                          วารสารมนุษยศาสตร์  ปีที่ 18 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2554  69
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82