Page 72 -
P. 72

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์





                     บทความนี้เป็นเพียงส่วนหนึ่งของความพยายามในการเสนอมุมมองที่หลากหลายในการท�าความ

            เข้าใจการเคลื่อนไหวทางศาสนาซึ่งเกิดขึ้นในสังคมกัมพูชาและได้รับความนิยมในสังคมไทยปัจจุบัน  แม้
            ต้นทางอาจมีลักษณะร่วมกันทั้งในแง่แนวคิด เครือข่าย และผู้คน แต่ด้วยลักษณะของ “การเดินทาง” นั้น

            ธรรมยาตราก็เป็นเครื่องพิสูจน์ว่า การเดินทางดังกล่าวเป็น “การเดินทางของความหมาย” กล่าวคือความ
            หมายของการเดินทางมีความเปลี่ยนแปลงไปตามเส้นทางที่เดินหรือในสังคมที่เดิน  ซึ่งผู้ที่เข้าร่วมเดินได้

            ร่วมกันผลิตหรือช่วงชิงความหมายซึ่งจะส่งผลให้ “ความหมายของการเดินทาง” นั้นมีหลากหลายนัย จาก
            มุมมองการศึกษาธรรมยาตราก่อนหน้านี้ที่เน้นมิติทางการต่อสู้ทางการเมือง  และแนวคิดพุทธศาสนาเพื่อ

            สังคมนั้นผู้เขียนสังเกตว่าแนวทางดังกล่าวอาจอธิบายธรรมยาตราที่เดินทางอยู่สังคมไทยได้เหมาะสมกว่า
            ในขณะที่ในสังคมเขมรซึ่งผู้เขียนได้แสดงให้เห็นว่าการก่อตัวของธรรมยาตรานั้นสัมพันธ์กับระยะเปลี่ยน

            ผ่านและการพลัดถิ่นฐานนั้นคือสิ่งที่ปรากฏอยู่ในความหมายของการเดินทางอันศักดิ์สิทธิ์แบบธรรมยาตรา
            การพิจารณาในแนวทางนี้จ�าเป็นต้องอาศัยภูมิหลังทางวัฒนธรรมเข้ามาช่วยในการอธิบายเพื่อให้เห็นแง่

            มุมที่สลับซับซ้อนเกินกว่าการอธิบายการเคลื่อนไหวทางศาสนาว่าเป็นปฏิบัติการต่อต้านอ�านาจรัฐหรือเป็น
            แนวคิด “พุทธศาสนาเพื่อสังคม” ซึ่งเป็น “เรื่องใหม่” โดยละเลยที่จะส�ารวจตรวจสอบเค้าความหมายที่มี

            อยู่เดิมในสังคมที่ศึกษา



                                             บรรณานุกรม


            ชยันต์ วรรธนะภูติ. 2553. สัมภาษณ์, 1 มิถุนายน.
            ณภคดล กิตติเสนีย์. 2554. “ธรรมยาตรากับการพเนจรโดยสมัครใจในสังคมเขมรหลังศูนยศักราช.” วิทยานิพนธ์

                   สังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต สาขาวิชามานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
            พระไพศาลวิสาโล. 2549. ความเป็นมาของธรรมยาตรา. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.visalo.

                   org/DhammaWalk/article001.htm [วันที่ที่เข้าถึง 8 เมษายน].
            พัฒนา กิติอาษา. 2553. สัมภาษณ์, 21 กรกฎาคม.

            เสมอชัย พูลสุวรรณ. 2552. รัฐฉาน (เมืองไต): พลวัตของชาติพันธุ์ในบริบทประวัติศาสตร์และสังคมการเมือง
                   ร่วมสมัย. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).

            อภิญญา เฟื่องฟูสกุล. 2541. ศาสนทัศน์ของชุมชนเมืองสมัยใหม่: ศึกษากรณีวัดพระธรรมกาย. กรุงเทพฯ: ศูนย์
                   พุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

            _________.  2551.  มานุษยวิทยาศาสนา: แนวคิดพื้นฐานและข้อถกเถียงทางทฤษฎี.  เชียงใหม่:  ภาควิชา
                   สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.







           64   วารสารมนุษยศาสตร์  ปีที่ 18 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2554
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77