Page 75 -
P. 75

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์





               การศึกษาเสียงสวดมนตในพระพุทธศาสนาเชิงสัทศาสตรและสัทวิทยา
               A Phonetic and Phonological Study of Thai Buddhist Chanting



                                                                                                1
                                                                                 ประวีร์ ธรรมรักษ์
                                                                                 Prawee Thamarak
                                                                            อภิลักษณ์ ธรรมทวีธิกุล  2
                                                                                Apiluck Tumtavitikul



              บทคัดย่อ

                       งานวิจัยชิ้นนี้ศึกษาท�านองสวดในพระพุทธศาสนาในมุมมองสัทศาสตร์และสัทวิทยาด้วย

              กลสัทศาสตร์และทฤษฎีสัทวิทยาโครงสร้างการเน้นพยางค์ (metrical theory) โดยศึกษาบทสวดขันธปริตร
              ใน 2 ท�านอง ท�านองละ 1 วัด ท�านองสังโยคจากคณะสงฆ์วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์และท�านองมคธจาก

              คณะสงฆ์วัดบวรนิเวศวิหาร ผลการศึกษาทางกลสัทศาสตร์พบว่า การสวดทั้งสองท�านอง มีการควบคุมระดับ
              เสียงสูงต�่าให้คงที่เป็นเสียงระดับเดียวกันโดยตลอด  มีการควบคุมระดับความดังให้คงที่เป็นระดับเดียวกัน

              อย่างสม�่าเสมอโดยตลอด  และมีการใช้ความยาวนานของเสียงเพื่อระบุการเน้นพยางค์และควบคุมจังหวะ
              ผลการวิเคราะห์โครงสร้างการเน้นพยางค์ทางสัทวิทยาพบว่า มีความแตกต่างของสองท�านองในระดับวรรค

              โดยท�านองสังโยคมีจุดเด่นที่การเน้นพยางค์ตามน�้าหนักพยางค์ กล่าวคือพยางค์หนัก (ครุ) เป็นพยางค์เน้น
              ส่วนพยางค์เบา (ลหุ) เป็นพยางค์ไม่เน้น ขณะที่ท�านองมคธมีจุดเด่นที่การเน้นพยางค์โดยต�าแหน่งบริเวณ

              ต้นและท้ายวรรค ผลการศึกษาครั้งนี้ สามารถน�าไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนสวดมนต์ได้



              ABSTRACT

                       This thesis aims to study Thai Buddhist chanting rhythm in the aspect of phonet-
              ics and phonology according to acoustic phonetics and Metrical theory. Two rhythms of

              Khandha paritta are studied in comparison whereas each rhythm is obtained from different
              source; Sangyoka style from monks of the Mahathat Yuwaratrangsarit temple and Magadha

              style from Bavonnivet Viharn temple. The result of acoustic phonetics study shows that both
              chanting rhythms are stable in the control of the pitch and loudness. Duration of voice is

              applied for syllable stress and rhythmic control. The metrical study shows differences between
              the two chanting rhythms. Sangyoka style distinguishes the syllable stress by syllable (Garu

              1  นิสิตปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร์ประยุกต์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
              2  รองศาสตราจารย์ประจ�าภาควิชาภาษาศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80