Page 86 -
P. 86
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
3.4.2 โครงสร้างการเน้นพยางค์ในบทร้อยแก้ว
ท�านองมคธ
ร้อยแก้วของบทสวดนั้นในวรรคหนึ่งๆ ไม่มีฉันทลักษณ์ ไม่บังคับจ�านวนค�าและต�าแหน่งของค�า
ครุ ลหุ เหมือนร้อยกรอง เพราะฉะนั้นวรรคหนึ่งๆ จึงมีขอบเขตไม่เท่ากัน ในการสวดท�านองมคธจะมีช่วง
หยุดเป็นระยะๆ แต่ในท�านองสังโยคจะสวดหมู่ต่อเนื่องไปเรื่อยๆ โดยไม่มีช่วงหยุด
P
/ |
W W
| / / / / / / |
| \ | | | / | | / | |
พยางค์: [กะ ตา* เม รัก ขา กะ ตา เม ปะ ริต ตา] หยุด
P
เวลา(sec.) |0.58|0.39|0.42|0.30|0.45|0.21|0.36|0.43|0.16|0.25|0.88 | 0.58|
น�้าหนักพยางค์ - | | | | - | | - | |
ภาพที่ 10 โครงสร้างการเน้นพยางค์ในบทร้อยแก้วท�านองมคธ ตามการสวดจริง
W(2) P(1)
| |
พยางค์: [กะ ตา เม รัก ขา กะ ตา เม ปะ ริต ตา] หยุด
P
เวลา(sec.) |0.58|0.39|0.42|0.30|0.45|0.21|0.36|0.43|0.16|0.25|0.88 | 0.58|
ภาพที่ 11 โครงสร้างการเน้นพยางค์ในบทร้อยแก้วท�านองมคธ เฉพาะพยางค์เน้นส�าคัญ
จากภาพที่ 10 พบว่า ค�าครุ (โครงสร้าง cvv cvc cvvc) เป็นพยางค์เน้น และค�าลหุ (โครงสร้าง
cv) เป็นพยางค์ไม่เน้นจริงตามน�้าหนักพยางค์ ยืนยันได้ด้วยค่าเวลาที่ออกเสียงจริง แต่ขณะเดียวกันก็พบ
ความไม่สอดคล้อง คือ มีการสลับการเน้นพยางค์ (metathesis) (สังเกตจากที่ขีดเส้นใต้) ที่พยางค์แรก
ของวรรค ซึ่ง “กะ” เป็นค�าลหุที่จะต้องเป็นพยางค์ไม่เน้น และเป็นองค์ประกอบของพยางค์เน้นทางขวา
ได้กลายเป็นพยางค์เน้น ส่วนการเน้นพยางค์ระดับสูงขึ้นไปนั้น พบว่าในวรรคต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นค�าครุหรือ
ลหุ หากอยู่ในต�าแหน่งซ้ายสุดของวรรค (ที่มีการสลับพยางค์) จะท�าให้กลายเป็นพยางค์เน้นระดับ 2 หาก
อยู่ต�าแหน่งขวาสุดของวรรคจะเป็นพยางค์เน้นระดับ 1 แสดงว่า ในต�าแหน่งดังกล่าว จะเน้นพยางค์โดย
อาศัยต�าแหน่งมากกว่าอาศัยน�้าหนักพยางค์ ดังภาพที่ 11
78 วารสารมนุษยศาสตร์ ปีที่ 18 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2554